DSpace Repository

การบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์เพื่อการเรียนรู้ กรณีศึกษาพิพิธภัณฑ์ชาวบางกอก

Show simple item record

dc.contributor.advisor บุญชู บุญลิขิตศิริ
dc.contributor.advisor บุญเติม พันรอบ
dc.contributor.author ศิรินทร์ พิณโกศล
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-06-06T03:44:47Z
dc.date.available 2023-06-06T03:44:47Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8507
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การวิจัยเรื่องการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์เพื่อการเรียนรู้ กรณีศึกษาพิพิธภัณฑ์ ชาวบางกอกมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ 4 ด้าน คือ ด้านอาคาร ด้านบุคลากร ด้านจัดการข้อมูล และด้านประชาสัมพันธ์เพื่อนําผลการวิจัยวิจัยที่ได้มาเป็นแนวทางในการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ชาวบางกอกและพิพิธภัณฑ์อื่น ๆ ได้อย่างเหมาะสม โดยมุ่งเน้นให้พิพิธภัณฑ์เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนได้อย่างแท้จริง การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพโดยใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารและการลงภาคสนามโดยเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง จํานวน 120 คน ผลการวิจัยพบว่า การบริหารด้านอาคาร ผู้เข้าชมพิพิธภัณฑ์ให้ความสนใจในเรื่องของความดั้งเดิมของพื้นที่จัดแสดงเป็นลําดับแรก (xത = 4.53) ซึ่งเป็นความโดดเด่นอย่างหนึ่งของพิพิธภัณฑ์ที่ประยุกต์อาคารดั้งเดิมมาเป็นพิพิธภัณฑ์เพื่อจัดแสดงให้ผู้เข้าชมได้ศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับรูปแบบของอาคารด้านบุคลากรผู้เข้าชมพิพิธภัณฑ์ให้ความสนใจในเรื่องของบุคลากรที่มีความสามารถในการให้บริการ(xത = 4.07) ซึ่งเป็นองค์ประกอบสําคัญของศักยภาพบุคลากรในด้านพิพิธภัณฑ์ ด้านจัดการข้อมูลพบว่าผู้เข้าชมพิพิธภัณฑ์ให้ความสนใจเรื่องการที่พิพิธภัณฑ์เป็นแหล่งเรียนรู้ ค้นคว้าข้อมูลทางศิลปวัฒนธรรม (xത = 4.20) ซึ่งแสดงให้เห็นว่าผู้เข้าชมที่มานั้นมุ่งหวังให้พิพิธภัณฑ์เป็นสถานที่ให้ความรู้เกี่ยวกับเนื้อหาของประวัติความเป็นมาเรื่องราวทั้งทางด้านศิลปะ วัฒนธรรม ไม่ใช่เพียงการมาเข้าชมเพื่อความบันเทิงอย่างเดียวด้านประชาสัมพันธ์พบว่าผู้เข้าชมให้ความสนใจเรื่องเอกสารที่เพียงพอต่อการให้บริการ (xത = 4.28) เพื่อเพียงพอต่อความต้องการของผู้เข้าชมในการรับทราบข้อมูล การวิจัยการบริหารดังกล่าวมานั้นจะเป็นข้อมูลที่ใช้เพื่อการพัฒนารูปแบบการบริการจัดการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นชาวบางกอกได้อย่างเหมาะสมและรวมไปถึงพิพิธภัณฑ์อื่น ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น
dc.subject พิพิธภัณฑ์
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารศิลปะและวัฒนธรรม
dc.title การบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์เพื่อการเรียนรู้ กรณีศึกษาพิพิธภัณฑ์ชาวบางกอก
dc.title.alternative Administrtion of discovery museum: cse study bngkok folk’s museum
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The administration of discovery museum case study of the Bangkok folk’s museum purpose to study and analyze the museum administration 4 aspects which are the building administration, human resources, information administration, and public relations. The samples are 120 data with in-depth interview. The studies are quantitative methods. The results are following: the building administration is the most bevel about the classical building, xത 4.53: the human resource is the most bevel about the knowledge about service mind, xത 4.07: the information administrationis the most bevel about the learning sources of cultural information, xത 4.20, and the public relation administration is the most bevel about the sufficient document for services, xത 4.28. The administration of discovery museum case study Bangkok folk’s museum is for conserving and development the folk museum in Thailand.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การบริหารศิลปะและวัฒนธรรม
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account