dc.contributor.advisor |
บรรหาญ ลิลา |
|
dc.contributor.author |
วรัญญา ลิ้มบ้วน |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T06:54:26Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T06:54:26Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8081 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วศ.ม)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้นำเสนอการศึกษาเปรียบเทียบนโยบายการจัดการเกี่ยวกับการควบคุมวัสดุคงคลังประเภทชิ้นส่วนอะไหล่สำหรับงานซ่อมบำรุงเครื่องจักรเมื่อมีปริมาณความต้องการต่ำ และไม่ทราบความต้องการที่แน่นอน แต่สามารถวิเคราะห์การแจกแจงจากข้อมูลในอดีตได้งานวิจัยนี้จะศึกษาเปรียบเทียบนโยบายการควบคุมระหว่าง Q- r, T-S และ Max-Min เมื่อความต้องการมีการแจกแจงแบบต่อเนื่อง ประกอบด้วยการแจกแบบปกติแบบเอ็กโปเนนเชียล แบบไวล์บูลและแบบล็อคนอร์มอลและแบบไม่ต่อเนื่อง ประกอบด้วยแบบเอ็มไพริคอลและแบบปัวส์ซอง พิจารณาผลจากดัชนีค่าใช้จ่ายรวมและระดับบริการที่ยอมรับได้เปรียบเทียบผลลัพธ์ด้วยการปรับค่าพารามิเตอร์ของแต่ละนโยบายโดยใช้ Process analyzer ของโปรแกรม ARENA ทำการรันแบบจำลองตามจำนวนรอบที่เหมาะสมของทุกการแจกแจงผลการศึกษาพบว่า นโยบาย Max-Min และ Q, r มีผลลัพธ์ทั้งค่าใช้จ่ายรวมเฉลี่ยและระดับบริการที่ยอมรับได้ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญและดีกว่านโยบาย T-S จึงสรุปได้ว่านโยบาย Max-Min และ Q-r เป็นนโยบายที่เหมาะสมในการประยุกต์เพื่อควบคุมวัสดุคงคลังประเภทชิ้นส่วนอะไหล่สำหรับงานซ่อมบำ รุงมากกว่านโยบาย T-S เมื่อปริมาณความต้องการต่ำ และไม่แน่นอนไม่ว่าการแจกแจงจะเป็นแบบต่อเนื่องหรือไม่ต่อเนื่องก็ตาม |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ |
|
dc.subject |
ชิ้นส่วนเครื่องจักรกล |
|
dc.subject |
วิศวกรรมเครื่องกล |
|
dc.title |
การศึกษานโยบายการควบคุมวัสดุคงคลังประเภทชิ้นส่วนอะไหล่ |
|
dc.title.alternative |
A study of inventory control policy for spre prts |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
This research presents a comparison study of spare part inventory management policies for machine maintenance. The study focused on spare part items that are used in critical machine in the process with low and uncertain but behaviorally identifiable demand. The spare part items with Normal, Exponential, Weibull and Lognormal, Empirical and Poisson distribution were compared based on the total cost and service level using three control policies Q-r, T-S and Max-Min. The comprehensive comparison study was performed using the Process analyzer function of ARENA. The result indicated that the Max-Min and Q-r policies provided the best but insignificantly different total cost and service level. Therefore, it can be concluded from the result of this research that the Max-Min and Q-r policies should be implemented in managing and controlling of spare part to support the maintenance function of critical machines in the process regardless of demand distribution type. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
วิศวกรรมอุตสาหการ |
|
dc.degree.name |
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|