DSpace Repository

การเปรียบเทียบผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากกระบวนการทำสีตัวถังรถยนต์ชนิด Solvent based และ water based

Show simple item record

dc.contributor.advisor ทิพย์สุรีย์ กรบุญรักษา
dc.contributor.author ภาวัช แก้วสำราญ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T06:54:25Z
dc.date.available 2023-05-12T06:54:25Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8079
dc.description งานนิพนธ์ (วศ.ม)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract งานวิจัยนี้ทำการศึกษาการเปรียบเทียบผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากกระบวนการทำสีตัวถังรถยนต์ชนิด Solvent based และ Water based โดยใช้โปรแกรม SimaPro 8.4 ด้วยวิธี ILCD 2011 Midpoint + V1.10 โดยเปรียบเทียบผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการใช้พลังงานและสารเคมีประเภทสารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) ต่อพื้นที่หนึ่งตารางเมตรของตัวถังรถยนต์ จากการเก็บข้อมูลในระยะเวลา 1 ปี พบว่า กระบวนการชนิด Solvent based มีปริมาณการใช้สารเคมีทั้งหมดเฉลี่ยเท่ากับ 0.18 kg/m2 และกระบวนการชนิด Water based เท่ากับ 0.15 kg/m2 ข้อมูลปริมาณการใช้สาร VOCs เฉลี่ยพบว่า กระบวนการชนิด Solvent based เท่ากับ 0.04335 kg/m2 และกระบวนการชนิด Water based เท่ากับ 0.00591 kg/m2 ข้อมูลปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ยพบว่า กระบวนการชนิด Solvent based เท่ากับ 1.78 kWh/m2 และกระบวนการชนิด Water based เท่ากับ 1.48 kWh/m2 ข้อมูลปริมาณการใช้ก๊าซธรรมชาติเฉบี่ยพบว่า กระบวนการชนิด Solvent based เท่ากับ 0.14 SCM/m2 และกระบวนการชนิด Water based เท่ากับ 0.08 SCM/m2 ข้อมูลปริมาณการใช้ไอน้ำเฉลี่ยพบว่า กระบวนการชนิด Solvent based เท่ากับ 0.84 MJ/m2 และกระบวนการชนิด Water based เท่ากับ 5.00 MJ/m2 เมื่อศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากกระบวนการชนิด Solvent based พบว่ มีกระทบสูงกว่ากระบวนการชนิด Water based ในทุกผลกระทบที่ทำการวิเคราะห์ โดยผลกระทบทางด้าน Photochemical ozone formation ของกระบวนการชนิด Solvent based มีสัดส่วนการการก่อให้เกิดผลกระทบสูงกว่ากระบวนการชนิด Water based ถึง 84.4% โดยที่กระบวนการชนิด Solvent based มีศักยภาพในการเกิด Photochemical ozone formation เท่ากับ 3.12E-02 kg NMVOC eq/m2 ในขณะที่กระบวนการชนิด Water based มีศักยภาพเท่ากับ 4.88E-03 kg NMVOC eq/m2 ส่วนผลกระทบทางด้าน Climate change ของกระบวนการชนิด Solvent based มีสัดส่วนการเกิดผลกระทบสูงกว่ากระบวนการชนิด Water based เพียง 0.9% เท่านั้น โดยที่กระบวนการชนิด Solvent based มีศักยภาพในการเกิด Climate change เท่ากับ 1.50 kg Co2 eq/m2 ในขณะที่กระบวนการชนิด Water based มีศักยภาพเท่ากับ 1.49 kg Co2 eq/m2
dc.language.iso th
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม
dc.subject เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี)
dc.subject การจัดการสิ่งแวดล้อม
dc.subject สภาพแวดล้อมการทำงาน
dc.subject อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่
dc.subject รถยนต์ -- การพ้นสี
dc.title การเปรียบเทียบผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากกระบวนการทำสีตัวถังรถยนต์ชนิด Solvent based และ water based
dc.title.alternative Comprison of environment impct from pinting process between solvent bsed pint nd wter besed pint
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The objective of this study was to compare the environmental impact of auto body painting between Solvent based painting (SBP) process and Water based painting (WBP) process using SimaPro 8.4 with ILCD 2011 Midpoint + V1.10 method based on the consumption of energy and volatile organic compounds (VOCs) per square meter of auto body. Data were collected for one year long and the researcher found that the SBP process consumed an average chemical of 0.18 kg/m2 and WBP process of 0.15 kg/m2. In terms of VOCs consumption, an average SBP process was 0.04335 kg/m2 and WBP process was 0.00591 kg/m2. An average consumption of electricity for SBP process and WBP process were 1.78 kWh/m2 and 1.48 kWh/m2, respectively. An average consumption of natural gas for SBP process and WBP process were 0.14 SCM/m2 and 0.08 SCM/m2, respectively. In terms of stream consumption of SBP process and WBP process were 0.84 MJ/m2 and 5.00 MJ/m2, respectively. From the analysis results reflected that SBP process showed more environmental impact than WBP process for all categories. Photochemical ozone formation produced from SBP process was higher than WBP process approximately 84.4%. It was 3.12E-02 kg NMVOC eq/m2 for SBP process while WBP process was 4.88E-03 kg NMVOC eq/m. Climate change impact potential also investigated in this study. It was found that SBP process showed higher climate change impact than WBP process approximately 0.9%. It was to 1.50 kg CO2 eq/m2 for SBP process while WBP process was 1.49 kg CO2 eq/m2.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม
dc.degree.name วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account