dc.contributor.advisor |
ปิยะทิพย์ ประดุจพรม |
|
dc.contributor.advisor |
เสรี ชัดแช้ม |
|
dc.contributor.author |
ชญารัตน์ บุญพุฒิกร |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการวิจัยและวิทยาการปัญญา |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T06:12:59Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T06:12:59Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7875 |
|
dc.description |
ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนามาตรวัดเจตคติต่อวิชาชีพครูตามโมเดลการตอบสนองข้อสอบแบบพหุมิติ 2) จัดทำคลังข้อคำถามสำหรับมาตรวัดเจตคติต่อวิชาชีพครู 3) พัฒนาโปรแกรมการทดสอบปรับเหมาะแบบพหุมิติด้วยคอมพิวเตอร์สำหรับมาตรวัดเจตคติต่อวิชาชีพครู และ 4) ศึกษาความสัมพันธ์ของผลการประมาณค่าเจตคติต่อวิชาชีพครูจากผลการทดสอบด้วยโปรแกรมการทดสอบปรับเหมาะแบบพหุมิติด้วยคอมพิวเตอร์กับผลการทดสอบโดยใช้ข้อคำถามทั้งหมดในคลังข้อคำถาม กลุ่มตัวอย่าง เป็น นิสิต นักศึกษา หลักสูตรทางการศึกษา ชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2560 ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ 17 สถาบัน จำนวน 952 คน ได้มาจากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน ผลการวิจัยปรากฏว่า 1. มาตรวัดเจตคติต่อวิชาชีพครูประกอบด้วย ข้อคำถาม จำนวน 97 ข้อ แบ่งออกเป็น 3 องค์ประกอบ คือ ด้านปัญญา ด้านอารมณ์ความรู้สึก และด้านพฤติกรรม ผลการตรวจสอบความเที่ยงของมาตรวัดด้วยการวิเคราะห์แบบพหุมิติ (EAP Reliability) มีค่าเท่ากับ .935, .953 และ .960 ตามลำดับ ผลการตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างปรากฏว่า โมเดลการวัดเจตคติต่อวิชาชีพครูแบบพหุมิติระหว่างข้อมีความเหมาะสมมากกว่าโมเดลการวัดแบบเอกมิติรวมและแบบเอกมิติแยกตามมิติ และผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันโมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ( = 70.37, = 69, = .43, = 0.00) เกณฑ์ปกติสำหรับมาตรวัดเจตคติต่อวิชาชีพครูประกอบด้วย ตำแหน่งเปอร์เซ็นต์ไทล์ คะแนนซี คะแนนที และสเตไนน์ ซึ่งแบ่งระดับเจตคติต่อวิชาชีพครูออกเป็น 5 ระดับ (ดีมาก ดี ปานกลาง ค่อนข้างไม่ดี และ ไม่ดี) 2. คลังข้อคำถามแบ่งออกเป็น 3 คลังย่อย ได้แก่ ด้านปัญญา จำนวน 31 ข้อ ด้านอารมณ์ความรู้สึก จำนวน 32 ข้อ และด้านพฤติกรรม จำนวน 34 ข้อ 3. โปรแกรมการทดสอบปรับเหมาะแบบพหุมิติด้วยคอมพิวเตอร์สำหรับมาตรวัดเจตคติต่อวิชาชีพครูมีความเหมาะสมในการนำไปใช้งานอยู่ในระดับมาก 4. ผลการประมาณค่าเจตคติต่อวิชาชีพครูด้วยโปรแกรมการทดสอบปรับเหมาะแบบพหุมิติด้วยคอมพิวเตอร์กับผลการทดสอบด้วยข้อคำถามทั้งหมดในคลังข้อคำถามมีความสัมพันธ์กันทางบวก โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ 0.34 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
วิทยาลัยการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
ทัศนคติ |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการวัดและเทคโนโลยีทางวิทยาการปัญญา |
|
dc.subject |
Humanities and Social Sciences |
|
dc.subject |
วิชาชีพครู -- มาตรฐาน |
|
dc.title |
การพัฒนามาตรวัดเจตคติต่อวิชาชีพครูตามโมเดลการตอบสนองข้อสอบแบบพหุมิติ : การทดสอบปรับเหมาะแบบพหุมิติด้วยคอมพิวเตอร์ |
|
dc.title.alternative |
Development of n ttitude scles for teching profession bsed on multidimensionl item response model: multidimensionl computerized dptive testing |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The purposes of this research were 1) to develop an attitude scale for the teaching profession based on the multidimensional item response model (ASTP-MIRT), 2) to construct an item bank for the attitude scale, 3) to develop an attitude scale for the teaching profession based on multidimensional computerized adaptive testing (ASTP-MCAT), and 4) to study the relationship between the estimation results from ASTP-MCAT and the those from testing by using all items in the item bank. The sample was 952 fourth year undergraduate students in the Faculty of Education, academic year 2017 from 17 public educational institutions, derived by multi-stage random sampling. The results were as follows: 1. The ASTP-MIRT consisted of 97 items in three dimensions: cognitive, affective, and behavioral. The reliability analyzed by EAP Reliability was equally to .935, .953, and .960, respectively. The construct validity by the Multidimensional Between-Items Model of ASTP-MIRT was more appropriate than the Composite Approach Model, and the Consecutive Approach. The Model was in accordance with the empirical data ( = 70.37, = 69, = .43, = 0.00). The interpretation criteria of the developed scale consisted of percentile rank, z-score, T-score, and stanine by teacher attitudes and is divided into five levels (very high, high, moderate, low, and very low). 2. The item bank was divided into three sub-item banks including 31 cognitive items, 32 affective items, and 34 behavioral items. 3. The ASTP-MCAT was judged to be acceptable at a high level. 4. The correlation coefficient between teaching profession attitudes from the ASTP-MCAT and the test using the whole item bank showed a positive relationship, 0.34 (p<.05). |
|
dc.degree.level |
ปริญญาเอก |
|
dc.degree.discipline |
การวัดและเทคโนโลยีทางวิทยาการปัญญา |
|
dc.degree.name |
ปร.ด. |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|