dc.contributor.advisor |
กนก พานทอง |
|
dc.contributor.advisor |
ปิยะทิพย์ ประดุจพรม |
|
dc.contributor.author |
จุฑาวรรณ หันทะยุง |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T06:07:59Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T06:07:59Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7809 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างมาตรวัดความสุข ของคนไทยตามทฤษฏี PERMA เปรียบเทียบความตรงร่วมสมัย ความตรงเชิงลู่ออก และเปรียบเทียบความสุขของคนไทย โดยจำแนกตามเพศ อายุ อาชีพ และรายได้ กลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนใน จังหวัดสระแก้ว จำนวน 1,143 คน ซึ่งมีการพัฒนามาตรวัดในรูปแบบเว็บแอปพลิเคชั่น (www.Thai-PERMA.com) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติทดสอบ t-test และ การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบ ทางเดียว ผลการวิจัยปรากฏว่า 1. มาตรวัดความสุขของคนไทยตามทฤษฏี PERMA ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ ด้านอารมณ์เชิงบวก ด้านความผูกพัน ด้านสัมพันธภาพ ด้านความหมาย และด้านความสำเร็จ มี 15 ข้อ มีค่า I-CVI เท่ากับ 0.67-1.00 และ S-CVI เท่ากับ 0.96 ค่าความเที่ยง เท่ากับ 0.83 ค่าอำนาจจำแนก เท่ากับ 0.31- 0.74 ผลการตรวจสอความตรงเชิงโครงสร้างสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 2. เปรียบเทียบความตรงร่วมสมัยของมาตรวัดความสุขของคนไทยตามทฤษฏี PERMA กับมาตรวัดความสุข Thai Mental Health Indicator มาตรวัดความสุขของคนไทยตามทฤษฏี PERMA กับมาตรวัดความสุขของคนไทย และมาตรวัดความสุข Thai Mental Health Indicator กับมาตรวัดความสุขของคนไทย มีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ทดสอบความตรงเชิงลู่ออกของมาตรวัดความสุขของคนไทยตามทฤษฏี PERMA กับมาตรวัดความซึมเศร้าของเบค มีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. ผลการเปรียบเทียบความสุขของคนไทย จำแนกตามเพศ อายุ อาชีพ และรายได้ ปรากฏว่า ความสุขของคนไทยไม่แตกต่างกัน เมื่อจำแนกตามเพศ และรายได้ และความสุข ของคนไทยแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อจำแนกตามอายุ และอาชีพ |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
ความสุข |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการวัดและเทคโนโลยีทางวิทยาการปัญญา |
|
dc.title |
การเปรียบเทียบความตรงร่วมสมัยของมาตรวัดความสุขตามทฤษฎี Perma มาตรวัดความสุข Thai mental health indicator และมาตรวัดความสุขของคนไทย |
|
dc.title.alternative |
A comprison of concurrent vlidity mesures for three instruments: the perm hppiness scle, the thi mentl helth indictor, nd the thi hppiness scle |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The objectives of this research were to develop Thai-PERMA scales, to test Thai-PERMA theory, to compare concurrent validity and divergent validity, and to compare scores from Thai-PERMA scales by gender, age, career, and income. The sample included 1,143 people in Sa Kaew province. Thai-PERMA was developed into web application (www.thai-perma.com). The data were analyzed using t-tests and ANOVA. Results were as follows: 1. The Thai-PERMA scale was composed of five aspects: positive emotion, attachment, relationship, implication, and success. The scale had fifteen items and had I-CVI=0.67-1.00, S-CVI=0.96, reliability=0.83, with item discriminations ranging from 0.31 to 0.74. A construct validity test was consistent with empirical data. 2. The concurrent validity among Thai-PERMA with Thai Mental Health Indicator, Thai-PERMA with Thai Happiness Scale, and Thai Mental Health Indicator with Thai Happiness Scale was significantly different at the .05 level. 3. The divergent validity of Thai-PERMA and BDI®-II scale was significantly different at the .01 level. 4. The comparative results of Thai-PERMA across gender, age, and income found that there was no difference in Thai Happiness for gender and income whereas there were differences in Thai Happiness for age and career (p<.05). |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
การวัดและเทคโนโลยีทางวิทยาการปัญญา |
|
dc.degree.name |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|