dc.contributor.advisor |
วรรณี เดียวอิศเรศ |
|
dc.contributor.advisor |
จินตนา วัชรสินธุ์ |
|
dc.contributor.author |
วัชรินทร์ เอี่ยมศิริ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T04:24:46Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T04:24:46Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7772 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
การขัดเกลาทางสังคมในเรื่องเพศแก่บุตรวัยรุ่นเป็นบทบาทที่สำคัญของครอบครัวการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการขัดเกลาทางสังคมในเรื่องเพศของครอบครัว นักเรียนวัยรุ่นตอนต้นในครอบครัวที่มีโครงสร้างครอบครัวและผู้ปกครองมีระดับการศึกษาแตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่าง คือผู้ปกครองของวัยรุ่นตอนต้นที่กำลังศึกษาในระดับชั้นมัธยมปีที่ 1-3 ในโรงเรียน ขยายโอกาส เขตอำเภอเมืองชลบุรี จำนวน 260 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2561 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของผู้ปกครองและแบบสอบถามการขัดเกลาทางสังคมในเรื่องเพศ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาค่าสถิติ t-test และการวิเคราะห์หาความแปรปรวน ผลการวิจัย พบว่า การขัดเกลาทางสังคมในเรื่องเพศของครอบครัวนักเรียนทั้ง 5 แบบ อยู่ในระดับสูงและพบว่า ครอบครัวที่ผู้ปกครองมีระดับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาขึ้นไปมี ค่าเฉลี่ยคะแนนขัดเกลาทางสังคมในเรื่องเพศแบบทั่วไปแบบไว้ใจแบบเข้มงวด และแบบทบทวน สูงกว่าครอบครัวที่ผู้ปกครองมีการศึกษาในระดับต่ำกว่ามัธยมศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.5) ส่วนการขัดเกลาทางสังคมในเรื่องเพศแบบเหนื่อยล้าไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และโครงสร้างครอบครัวที่แตกต่างกัน มีการขัดเกลาทางสังคมในเรื่องเพศ แบบทั่วไป แบบเข้มงวด และแบบเหนื่อยล้าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.5) ส่วนการขัดเกลาทางสังคมในเรื่องเพศแบบไว้ใจและแบบทบทวนไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการศึกษานี้เสนอแนะว่า พยาบาลครอบครัวหรือบุคลากรที่เกี่ยวข้องควรจัดทำโปรแกรมในการขัดเกลาทางสังคมในเรื่องเพศให้แก่ครอบครัวนักเรียนวัยรุ่นตอนต้นที่เหมาะสมกับลักษณะโครงสร้างของครอบครัวและระดับการศึกษาของผู้ปกครอง |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
เพศศึกษาสำหรับวัยรุ่น |
|
dc.subject |
เพศศึกษา |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฎิบัติครอบครัว |
|
dc.title |
การขัดเกลาทางสังคมในเรื่องเพศของครอบครัวนักเรียนวัยรุ่นตอนต้นในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 |
|
dc.title.alternative |
Sexul sociliztion of the erly dolescent fmily in the eduction opportunity expnsion schools under the office of chonburi primry service eduction re i |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
Sexual socialization of adolescents is an important role of family. The purpose of this research was to describe and compare the sexual socialization of early adolescents among families with different family structures and parents' educational levels. Participants were 260 parents or guardians of adolescents studying in grade 7-9 at educational opportunity expansion schools under the Office of Chonburi Primary Education Area 1. A multistage random sampling technique was used to select the participants. Data collection was conducted from February to March 2018 by using questionnaires regarding personal information of parents and sexual socialization of adolescents in the family. Descriptive statistics, t-test, one-way analysis of variance were employed for data analyses. The results found that all five patterns of sexual socialization of adolescent families were at high levels. Families with a parent/guardian who completed a high school education or higher had statistically significant higher mean scores of sexual socialization of adolescents on general pattern, trust pattern, strict pattern, and review pattern, with the exception of exhaust pattern, than those who completed a lower high school education (p< .05). Families with different family structure reported statistically significant difference in sexual socialization of adolescents on general pattern, strict pattern, and exhaust pattern, except for review pattern and trust pattern (p< .05). The study results suggest that family nurses or related personnel should develop adolescents’ sexual socialization for families of early adolescents concerning family structure type and educational level of the parents. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
การพยาบาลเวชปฎิบัติครอบครัว |
|
dc.degree.name |
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|