dc.contributor.advisor |
วรรณี เดียวอิศเรศ |
|
dc.contributor.advisor |
จินตนา วัชรสินธุ์ |
|
dc.contributor.author |
ศรีสวรินทร์ สินชัย |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T04:24:46Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T04:24:46Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7771 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
ความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย ปัจจัยหนึ่งที่สำคัญ คือโครงสร้างครอบครัว ซึ่งปัจจุบัน พบว่า มีโครงสร้างครอบครัวแบบครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวระหว่างครอบครัวเดี่ยวและครอบครัวขยายในตำบลบ้านสวน อำเภอเมืองจังหวัดชลบุรีกลุ่มตัวอย่าง คือตัวแทนครอบครัวเดี่ยว และขยายครอบครัวละ 60คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของตัวแทนครอบครัว และแบบสอบถามครอบครัวอยู่ดีมีสุขวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและการทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า ความอยู่ดีมีสุขโดยรวมของครอบครัวเดี่ยวสูงกว่าครอบครัวขยายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< .05) เมื่อจำแนกรายด้านพบว่า ค่าคะแนนเฉลี่ยด้านการทำหน้าที่ตามบทบาทที่เหมาะสม ด้านสัมพันธภาพในครอบครัวและด้านการเกื้อกูลสังคมอย่างมีคุณธรรม ครอบครัวเดี่ยวมีค่าคะแนนเฉลี่ยมากกว่าครอบครัวขยายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< .05) ยกเว้น ด้านการพึ่งพาตนเอง พบว่า ครอบครัวเดี่ยวมีค่าคะแนนเฉลี่ยน้อยกว่าครอบครัวขยายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< .05) ผลการศึกษานี้ให้ข้อเสนอแนะว่า พยาบาลครอบครัวในระดับปฐมภูมิหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง ควรเน้นสนับสนุนส่งเสริมสมาชิกครอบครัวเดี่ยวให้สามารถพึ่งพาตนเองได้ดีขึ้น ส่วนครอบครัวขยายควรพัฒนาการทำหน้าที่ตามบทบาทที่เหมาะสม ส่งเสริมสัมพันธภาพที่ดีของครอบครัว และการเกื้อกูลสังคมของครอบครัวให้ดีขึ้น อันจะส่งผลให้ครอบครัวอยู่ดีมีสุขมากขึ้นต่อไป |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
ความสัมพันธ์ในครอบครัว |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฎิบัติครอบครัว |
|
dc.title |
เปรียบเทียบความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวระหว่างครอบครัวเดี่ยวและครอบครัวขยายในตำบลบ้านสวน อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี |
|
dc.title.alternative |
A comprison of fmily well-being between nucler nd extended fmilies in bnsun subdistrict, mueng district, chon buri province |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
There are many factors that influence the well-being of family and among these is family structure. Currently, a nuclear family is rising continuously. This study aims to compare family well-being between nuclear and extended families in Bansuan sub-district, Mueang district, Chon Buri province. The study sample included the representatives of both nuclear and extended families (n = 60 for each). They were recruited in the study by using multistage random sampling. Data were collected using questionnaires consisting of personal information and family well-being questionnaires. Data were analyzed by descriptive statistics and independent t-test. The results showed that the total score of family well-being in nuclear family was significantly higher than those of the extended family (p<.05). When compared each dimension, it was found that family function, family relationship, and social support in nuclear family were significantly higher than those of the extended family (p<.05). However, self-reliance of nuclear family was significantly lower than those of the extended family (p<.05). The results of this study indicate that family nurses in primary care service and other professions who work with family should promote self-reliance in the nuclear families and promote family function, family relationship, and social support for extended families which will help increase level of family well-being. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
การพยาบาลเวชปฎิบัติครอบครัว |
|
dc.degree.name |
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|