DSpace Repository

การศึกษาการติดต่อสื่อสารของผู้บริหารสถานศึกษาและครูหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ของโรงเรียนเมืองพัทยา 2 (เจริญราษฎร์อุทิศ) จังหวัดชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.advisor สุเมธ งามกนก
dc.contributor.author จรูญทรัพย์ ใจดีเย็น
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T04:24:37Z
dc.date.available 2023-05-12T04:24:37Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7729
dc.description งานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการติดต่อสื่อสารของผู้บริหารสถานศึกษาและ ครูหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ของโรงเรียนเมืองพัทยา 2 (เจริญราษฎร์อุทิศ) จังหวัดชลบุรี และ เพื่อหาแนวทางพัฒนาการติดต่อสื่อสารของผู้บริหารสถานศึกษาและหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ของโรงเรียนเมืองพัทยา 2 (เจริญราษฎร์อุทิศ) จังหวัดชลบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ บุคลากรในโรงเรียนเมืองพัทยา 2 (เจริญราษฎร์อุทิศ) จำนวน 60 คน ซึ่งกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง คิดสัดส่วนโดยใช้ตารางเครจซี่ และมอร์แกน (Krejcie & Morgan) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 40 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูล ประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย (X) ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) ผลการวิจัยพบว่า การติดต่อสื่อสารของผู้บริหารสถานศึกษาและครูหัวหน้ากลุ่มสาระ การเรียนรู้ของโรงเรียนเมืองพัทยา 2 (เจริญราษฎร์อุทิศ) จังหวัดชลบุรี ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก โดยแบบมีระเบียบมากที่สุด รองลงมา คือ แบบสั่งการ แบบเห็นอกเห็นใจ และแบบมีชีวิตชีวา ตามลำดับ เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า การติดต่อสื่อสารมีจุดด้อย ที่ต้องมีการพัฒนาให้ดีขึ้นจากผู้เชี่ยวชาญด้วยการสัมภาษณ์ทั้งหมด 12 ประเด็น ได้แก่ 1) มีการควบคุมติดตามนิเทศการทำงานอย่างเคร่งครัด 2) พูดตรงกับข้อมูลที่ต้องการสื่อสารในการมอบหมายงาน 3) เปิดโอกาสให้สอบถามข้อสงสัย 4) ติดต่อพูดคุยด้วยการพูดเสียงสูง-เสียงต่ำ ขึ้นลงอยู่เสมอทำให้ไม่รู้สึกน่าเบื่อ 5) มีการแสดงออกทางความรู้สึกในระดับสูง 6) สามารถพูดจูงใจได้ดีทำให้ครูมีกำลังใจในการปฏิบัติงาน 7) มีการพูดจาแบบประนีประนอม ทำให้เกิดความสบายใจในการติดต่อพูดคุย 8) สร้างบรรยากาศครอบครัวในการติดต่อสื่อสาร 9) ควบคุมติดตามงานด้วยความเห็นอกเห็นใจ เมื่อเกิดการผิดพลาด 10) ปฏิบัติงานอย่างมีระเบียบวินัยที่ชัดเจน ทำให้เกิดความเข้าใจดีในการปฏิบัติตามระเบียบที่ได้กำหนดไว้ 11) มักจะอ้างถึงบทลงโทษประกอบกับการออกคำสั่ง และ 12) มักจะใช้การเสนอรายงานเป็นลายลักษณ์อักษรในการติดต่อสื่อสาร
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject ผู้บริหารโรงเรียน
dc.subject ผู้บริหารสถานศึกษา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.title การศึกษาการติดต่อสื่อสารของผู้บริหารสถานศึกษาและครูหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ของโรงเรียนเมืองพัทยา 2 (เจริญราษฎร์อุทิศ) จังหวัดชลบุรี
dc.title.alternative The study of communiction of dministrtors nd deprtment hed techers in ptty city 2 (chroenrtutid) school in chon buri province
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This research aims to study and to present guidelines for the improvement of communication of administrators and department head teachers in the Pattaya City 2 School (Charoenrat-Utid), Chon Buri Province. The sample in this study were 60 teachers in the Pattaya City 2 School (Charoenrat-Utid), Chon Buri Province. The criteria used to determine the size of the sample was suggested based on Krejcie & Morgan’s table. The instrument used in this research was a questionnaire. The statistics used to analyze the data were Mean (X), Standard Deviation (SD), and Content Analysis. This study revealed that the communication of administrators and department head teachers in the Pattaya City 2 School (Charoenrat-Utid), Chon Buri Province as a whole was at a high level. They were put in order from high to low as the following: Systematic, Direct, Considerate, and Spirited. When considering each aspect, this study found that the ommunication of administrators and department head teachers in school had some drawbacks. By interviewing 12 experts for guidelines for the improvement of communication of school administrators and department head teachers included: 1) Have strict supervision, 2) Be straightforward, 3) Give opportunities to ask questions, 4) Use different tone during the conversation, 5) Express feeling while talking, 6) Motivate teachers to work, 7) Use compromising techniques when talking, 8) Ensure and maintain a friendly atmosphere, 9) Monitor and follow assigned work with sympathy, 10) Refer to principle, laws and regulations, 11) Refer to the penalties when talking, and 12) Use the written report to communicate.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การบริหารการศึกษา
dc.degree.name กศ.ม.
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account