DSpace Repository

ผลการใช้โปรแกรมการฝึกสติเพื่อพัฒนาความตั้งใจจดจ่อในเด็กสมาธิสั้น

Show simple item record

dc.contributor.advisor ศศินันท์ ศิริธาดากุลพัฒน์
dc.contributor.advisor วรากร ทรัพย์วิระปกรณ์
dc.contributor.author อาภรณ์ ดวงรัตน์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T04:19:09Z
dc.date.available 2023-05-12T04:19:09Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7663
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการใช้โปรแกรมการฝึกสติเพื่อพัฒนาความตั้งใจจดจ่อในเด็กสมาธิสั้น กลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมในการวิจัยเป็นนักเรียนที่มีภาวะสมาธิสั้น ซึ่งกำลังศึกษา อยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนบ้านสวน (จั่นอนุสรณ์) จังหวัดชลบุรี จำนวน 6 คน ด้วยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) โดยกลุ่มตัวอย่างได้รับการวินิจฉัยทางการแพทย์ว่า เป็นเด็กที่มีภาวะสมาธิสั้นและได้รับความยินยอมจากผู้ปกครองในการสมัครใจ เข้าร่วมการวิจัย แบบแผนการทดลองที่ใช้ในการวิจัย คือ One-phase rmbedded design เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) โปรแกรมการฝึกสติเพื่อพัฒนาความตั้งใจจดจ่อในเด็กสมาธิสั้น 2) แบบทดสอบความตั้งใจจดจ่อ (Attention network test: ANT) 3) แบบประเมินพฤติกรรม SNAP-IV (Short form) สำหรับผู้ปกครองและครู วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติ Wilcoxon signed ranks test ผลการวิจัย พบว่า 1. เด็กสมาธิสั้นที่ได้รับโปรแกรมการฝึกสติ มีความตั้งใจจดจ่อ ในด้านการบริหาร ความตั้งใจ (Executive control) หลังการทดลองสูงกว่าก่อนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. เด็กสมาธิสั้นที่ได้รับโปรแกรมการฝึกสติมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภายหลัง การทดลองสูงขึ้นกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. เด็กสมาธิสั้นที่ได้รับโปรแกรมการฝึกสติมีพฤติกรรมการแสดงออกภาวะสมาธิสั้นภายหลังการทดลองด้านสมาธิดีขึ้น พฤติกรรมด้านซนอยู่ไม่นิ่ง/ หุนหันพลันแล่นและด้านดื้อ/ต่อต้านลดลงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาสมอง จิตใจ และการเรียนรู้
dc.subject สมาธิสำหรับเด็ก
dc.subject สมาธิ -- การฝึก
dc.title ผลการใช้โปรแกรมการฝึกสติเพื่อพัฒนาความตั้งใจจดจ่อในเด็กสมาธิสั้น
dc.title.alternative The effects of combined mind nd behviorl trining progrm on ttention improvement in children with ttention deficit hyperctivity disorder
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to study the effects of combined mind and behavioral training programs on attention of students who had Attention deficit hyperactivity disorder (ADHD). Participants in the study were 6 students diagnosed with ADHD of Bansuanjananusorn School, Chonburi in the academic 2017 year selected by purposive sampling. The students were allowed by their parents to voluntarily participate in the study. The research methodology was the One-phase embedded design. The instruments of the study were: 1) the Combined mind Behavioral Training Program on attention in students of ADHD, 2) Attention Network Test (ANT), and 3) Behavioral assessment form, SNAP-IV (Short Form) for teachers and parents, the Wilcoxon signed rank test was analyzed for statistical data analysis. The research findings were as follows: 1. The ADHD children who received a combined mind and behavioral training programs on attention in the case of executive control had the post test scores significant higher than the pretest scores at the .05 level. 2. The posttest learning scores of the ADHD students were higher the pretest scores at the .05 level. 3. ADHD children who received the combined mind and behavioral training programs on attention, had behavioral expressions; naughty, impulsive, and anti-depressant behaviors significantly lower than before the experiment at the .05 level.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline สมอง จิตใจ และการเรียนรู้
dc.degree.name วท.ม.
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account