DSpace Repository

การประยุกต์ใช้ศาสตร์พระราชาเพื่อการปฏิบัติงานชุมชนของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในเขตภาคตะวันออก

Show simple item record

dc.contributor.advisor วรวุฒิ เพ็งพันธ์
dc.contributor.advisor ศรีวรรณ ยอดนิล
dc.contributor.author ชวาลา ไชยฤทธิ์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T04:19:08Z
dc.date.available 2023-05-12T04:19:08Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7661
dc.description วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract การวิจัยนี้เป็นงานวิจัยแบบผสานวิธีมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความรู้เรื่องศาสตร์พระราชาเพื่อการปฏิบัติงานชุมชนของครู กศน.ตำบล สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในเขตภาคตะวันออก 2) ศึกษาการประยุกต์ใช้ศาสตร์พระราชาเพื่อการปฏิบัติงานชุมชนของครู กศน.ตำบล สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในเขตภาคตะวันออก 3) เปรียบเทียบระดับความรู้เรื่องศาสตร์พระราชาเพื่อการปฏิบัติงานชุมชน จำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคลของ ครู กศน.ตำบล สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในเขตภาคตะวันออก 4) เปรียบเทียบการประยุกต์ใช้ศาสตร์พระราชาเพื่อการปฏิบัติงานในชุมชน จำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคลของ ครู กศน.ตำบล สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในเขตภาคตะวันออก และ 5) ศึกษาแนวทางการส่งเสริมการนำศาสตร์พระราชามาประยุกต์ใช้เพื่อการปฏิบัติงานชุมชนของครู กศน.ตำบล สำนักงานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในเขตภาคตะวันออก ผลการวิจัย พบว่า 1. ระดับความรู้เกี่ยวกับศาสตร์พระราชาของ ครู กศน.ตำบล ภาพรวมอยู่ในระดับดี = 4.01 หากพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ระดับความรู้ของครู กศน.ตำบล ในด้านความรู้ด้านปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อยู่ในระดับดีมาก = 4.32 รองลงมา คือ ความรู้ด้านความพออยู่พอกิน อยู่ในระดับดีมาก = 4.27 และความซื่อสัตย์สุจริต จริงใจต่อกัน อยู่ในระดับดีมาก = 4.25 ตามลำดับ 2. การนำศาสตร์พระราชามาประยุกต์ใช้เพื่อการปฏิบัติงานชุมชน ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก = 4.02 หากพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า การประยุกต์ใช้ศาสตร์พระราชาด้านปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อยู่ในระดับมากที่สุด = 4.33 รองลงมา เป็นด้านความพออยู่พอกิน อยู่ในระดับดีมาก = 4.29 ตามลำดับ 3. การเปรียบเทียบระดับความรู้ด้านศาสตร์พระราชาเพื่อการปฏิบัติงานชุมชนของครู กศน.ตำบล จำแนกตามเพศ ประสบการณ์ทำงาน และระดับการศึกษา แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 4. การเปรียบเทียบการประยุกต์ใช้ศาสตร์พระราชามาประยุกต์ใช้เพื่อการปฏิบัติงานชุมชนของ ครู กศน.ตำบล จำแนกตามเพศ ประสบการณ์ทำงาน และระดับการศึกษา แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ .05 5. แนวทางการนำศาสตร์พระราชามาประยุกต์ใช้เพื่อการปฏิบัติงานชุมชน ได้แก่ นำมาจัดให้สอดคล้องกับกระบวนการ PDCA ซึ่งเป็นกระบวนการสำคัญในการดำเนินงานของงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการศึกษาและการพัฒนาสังคม
dc.subject การศึกษานอกระบบโรงเรียน
dc.title การประยุกต์ใช้ศาสตร์พระราชาเพื่อการปฏิบัติงานชุมชนของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในเขตภาคตะวันออก
dc.title.alternative The implementtion of the king’s philosophy for community work of the office of the non-forml nd informl eduction, estern region
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purposes of this mixed methods research were: 1) To study level of knowledge on “the King Science of informal teachers for community work at the Office Non-formal and Informal Education, Eastern region. 2) To study the implementations of the king's philosophy of informal teachers for community work at the Office Non-formal and Informal Education, Eastern region. 3) To compare the king's philosophy knowledge level of the Informal teachers classified by demographic data. 4) To compare the implementations of the science of the king of the informal teachers classified by demographic data. 5) To identify guideline to promote the king’s philosophy for community work at the office of Non Formal and Informal Education in the Eastern, region. The research findings were as follow: 1. The knowledge level of informal teacher for community work at the Office Non-formal and Informal Education. was at high level ( = 4.01), ranging from the sufficiency economy Philosophy ( = 4.32) Knowledge level on moderation ( = 4.27) and knowledge level on honesty and sincere ( = 4.25), respectively. 2. The implementations of the science of the king for informal teachers for community work of the Office Non-formal and Informal Education in overall was at the high level ( = 4.02) ranging from implementations of sufficiency economy Philosophy ( = 4.33) the implementations of ranging from ( = 4.29), respectively. 3. The knowledge level of the informal teacher as classified by gender, work experience and education level were not significant different. 4. The implementations of the science of the king of the informal teachers classified by gender, education level, and work experience were not significant different. 5. The guideline to promote the king's philosophy for community work at the Office of Non-formal and Informal education Eastern, were in line with PDCA process which is important for community work.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การศึกษาและการพัฒนาสังคม
dc.degree.name กศ.ม.
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account