dc.contributor.author |
วริยา วชิราวัธน์ |
th |
dc.contributor.author |
เรณา พงษ์เรืองพันธุ์ |
th |
dc.contributor.author |
ทัศนีย์ วรภัทรากุล |
th |
dc.contributor.author |
กนกนุช ชื่นเลิศสกุล |
th |
dc.contributor.author |
นฤมล ปทุมารักษ์ |
th |
dc.contributor.author |
เพชรรัตน์ ตรงต่อศักดิ์ |
th |
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสหเวชศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T08:53:07Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T08:53:07Z |
|
dc.date.issued |
2538 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/763 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอุบัติการ และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้เล็ก ในเขตพื้นที่พัฒนาชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์โดยวิธีส่องกล้องตรวจกระเพาะอาหารว่าเป็นโรคแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้เล็ก จำนวน 95 คน เลือกตัวอย่างประชากรแบบเจาะจง ตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป้นแบบสัมภาษณ์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีค่าความเที่ยง =.78 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงบรรยาย t-test และ Oneway ANOVA
ผลการวิจัย
1. กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยที่พักรักษาตัวในโรงพยาบาล เพศชาย การวินิจฉัยโรคครั้งแรกคือ กระเพาะอาหารอักเสบ มีอายุระหว่าง 41-60 ปี มีการศึกษาในระดับประถมศึกษา อาชีพรับจ้าง
2. พฤติกรรมการบริโภคอาหารและสิ่งเสพติด ซึ่งผู้ป่วยบริโภค เป็นประจำทุกวัน และความถี่สูงที่สุดได้แก่ การสูบบุหรี่ การรับประทานอาหารไม่ตรงเวลา การรับประทานอาหารจำพวก เนื้อสัตว์ นม และถั่ว การดื่มแอลกอออล์ การรับประทานอาหารอิ่มเกินไป การรับประทานอาหารเผ็ดจัด การดื่มกาแฟ และรับประทานยากระตุ้นประสาทต่าง ๆ เรียงตามลำดับ
3. ความสัมพันธ์ระหว่าง พฤติกรรมการบริโภคอาหารและสิ่งเสพติด ในผู้ป่วยโรคแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้เล็ก กับปัจจัยต่าง ๆ ได้แก่ การศึกษา อายุ อาชีพ รายได้ และยาแก้ไขแก้ปวด โดยพฤติกรรมต่าง ๆ มีความสัมพันธ์กับปัจจัยต่าง ๆ กล่าวคือ พฟติกรรมในการรับประทานอาหารรสเค็ม รสเปรี้ยว และรสหวานจัด สัมพันธ์กับการศึกษา, รสเค็มจัด, ดื่มเบียร์สัมพันธ์กับอายุ, อาหารรสเผ็ดสัมพันธ์กับอาชีพ, รสจัดมีความสัมพันธ์กับเพศและการศึกษา, การดื่มแอลกอฮอล์และยาชูกำลังมีความสัมพันธ์กับเพศ การศึกษา และรายได้, การสูบบุหรี่มีความสัมพันธ์กับเพศ และอายุ การดื่มเครื่องดื่มชูกำลังมีความสัมพันธ์กับการรับประทานยาแก้ไขแก้ปวด, การดื่มน้ำอัดลมมีความสัมพันธ์กับเพศ และอาชีพ
4. อารมณ์ เครียด หรืออาการที่พบเกี่ยวข้องกับความเครียดในผู้ป่วยโรคและในกระเพาะอาหารและลำไส้เล็ก คือ ความรู้สึกไม่มีค่า ไม่มีคนหวังดี และขาดความรัก, อาการนอนไม่หลับ, ขาดความสุขไม่ปลอดโปร่งใจ, รุ้สึกไม่สดชื่นกระตือรือล้น
5. ผู้ป่วยโรคแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้เล็กที่มี เพศ, รายได้, อายุ และการศึกษาต่างกัน มีความเครียดไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
กระเพาะอาหาร - - บาดแผลและบาดเจ็บ |
th_TH |
dc.subject |
ลำไส้เล็ก - - บาดแผลและบาดเจ็บ |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
th_TH |
dc.title |
การสำรวจปัญหา และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ กับการเกิดแผล ในกระเพาะอาหาร และลำไส้เล็ก ในเขตพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก |
th_TH |
dc.title.alternative |
A study of problems and factors associate with peptic ulcer disease in eastern seaboard area |
en |
dc.type |
Research |
|
dc.year |
2538 |
|
dc.description.abstractalternative |
The objective of this study was to investigate the incidence and factors related to the occurrence of peptic ulcer in the Eastern Seabord region of Thailand. The sample comparised 95 patients, selected purposively, who were investigated by gastroscopy and diagnosed as having peptic ulcer. Data was obtained using an interview form developed by the researchers and its reliability was = .78. The data were analyzed by SPSS/PC+, the descriptive statistics, Chi-square, t-test and One-way ANOVA were presented.
Major findings:
1. Most of the sample consisted of male patients whose initial diagnosis was gastritis, with age of 41-60 years, who had completed primary school education and were workers.
2. Everyday dietary and addiction behavior among the patients consisted of smoking, irregular eating times, eating of meat, over-eating of spicy food, milk and nuts, coffee, and consumption of alcohol and stimulants.
3. The dietary and addiction behavior of the peptic ulcer patients were related, among other factors, to education, age, occupation, income and analgesic use. These included a relationship between the consumption of overly salty, sour or sweet foods and education; the consumption of salty food and beer and age; the consumption of spicy food and occupation; the consumption of overly strong tasting food to sex, age and occupation; the consumption of coffee and income; smoking and sex and age: stimulants and analgesic drug use; and soft drinks and sex and occupation.
4. Stress or psychosomatic symptoms in peptic ulcer patients included a feeling of worthlessness, a lack of hope, seeking for love, insomnia, unhappiness, lassitude, and lack of interest.
5. Peptic ulcer patients who differed in sex, income, age and education showed no difference in regard to stress. |
en |