dc.contributor.advisor |
สินีนาฎ ศรีมงคล |
|
dc.contributor.author |
กันตภน ชัยเสนา |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T04:16:43Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T04:16:43Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7592 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
ในการวิจัยนี้นำเสนอแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของเซลล์เชื้อเพลิงออกไซด์แข็งสมการควบคุม ประกอบด้วย Maxwell –Stefan สมการสำหรับการถ่ายเทมวลสมการดุลมวลและสมการ Brinkman สำหรับการไหลในรูพรุน โดเมนคำนวณอยู่ในสามมิติมีการศึกษา 4 กรณีศึกษา กรณีที่หนึ่ง ปรับโดเมนสอง โดเมนที่มีขนาดแตกต่างกันและเลือกใช้โดเมนที่มีประสิทธิภาพสูงสุดสำหรับการศึกษาเพิ่มเติม กรณีที่สอง ผลของอุณหภูมิพบว่า อุณหภูมิ 800 C มีประสิทธิภาพดีกว่า 1000 C กรณีสาม วิเคราะห์ผลของโครงสร้างตาข่ายโดยใช้โครงสร้างตาข่ายที่แตกต่างกัน สามขนาด ผลลัพธ์พบว่า ค่าตอบมีความแตกต่างกัน น้อยมากแสดงถึงความเสถียรของคำตอบ กรณีที่สี่ศึกษาผลของความพรุนและซึมผ่านจากผลการทดสอบ พบว่า การเพิ่มความพรุนหรือการซึมผ่านค่าเฉลี่ยความหนาแน่นกระแสและพลังงานเซลล์เชื้อเพลิงเฉลี่ยเพิ่มขึ้น |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ |
|
dc.subject |
เซลล์เชื้อเพลิงออกไซด์ของแข็ง |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาคณิตศาสตร์ศึกษา |
|
dc.subject |
เชื้อเพลิง |
|
dc.subject |
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) |
|
dc.subject |
เซลล์เชื้อเพลิง |
|
dc.title |
การศึกษาสมรรถนะของเซลล์เชื้อเพลิงชนิดออกไซด์แข็งโดยใช้แบบจำลองเชิงตัวเลข |
|
dc.title.alternative |
Investigtion of oxide fuel cell performnce using numericl simultion |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
In this research, a mathematical model of solid oxide fuel cell is presented. Governing equations consist of Maxwell –Stefan equations for chemical transport, current balance equations,and Brinkman equations for flow in porous media. Computational domains are in three-dimensions.The investigation is organized in four schemes. First,two domains with different sizes are solved and the domain with the highest performance is using for further study. Second,effect of temperature is found that temperature,800 C has the better performance than temperature,1000 C . Third, the mesh sensitivity is analysed using three different mesh sizes. The results show that the solutions have small difference. It is indicated that the numerical results are stable. Finally, the effect of porosity and permeability is studied. The numerical result show that increasing porosity or permeability,the average current density and average cell power is increased. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
คณิตศาสตร์ศึกษา |
|
dc.degree.name |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|