DSpace Repository

ผลกระทบของแบบทดสอบที่มีตัวลวงจากความเข้าใจคลาดเคลื่อน เรื่อง เมทริกซ์

Show simple item record

dc.contributor.advisor สมคิด อินเทพ
dc.contributor.advisor อรรณพ แก้วขาว
dc.contributor.author ศศิร์อร ทิพย์พีรชัย
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T04:16:40Z
dc.date.available 2023-05-12T04:16:40Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7582
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้แบบทดสอบที่มีตัวลวง จากความเข้าใจคลาดเคลื่อน วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เมทริกซ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนสกลนครพัฒนศึกษาที่สมัครใจเข้าร่วมการสอบครั้งนี้ 174 คน แล้วทำการแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 87 คน โดยวิธีจับสลากเพื่อให้กลุ่มแรกเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มที่สองเป็นกลุ่มควบคุม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบทดสอบลวงและแบบทดสอบปกติสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละและ t-test แบบ Independent Samples ผลการวิจัย พบว่า 1) คะแนนข้อสอบปรนัยของนักเรียนที่ทดสอบด้วยแบบทดสอบปกติ (ค่าเฉลี่ย 7.24) สูงกว่า นักเรียนที่ทดสอบด้วยแบบทดสอบลวง (ค่าเฉลี่ย 5.93) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2)จากแบบทดสอบลวง นนักเรียนกลุ่มปานกลางตอบข้อสอบปรนัยผิดและตอบข้อสอบอัตนัยผิดแบบมีความเข้าใจคลาดเคลื่อนในทิศทางเดียวกัน มากกว่านักเรียนกลุ่มเก่งที่ตอบข้อสอบปรนัยผิดและตอบข้อสอบอัตนัยผิดแบบมีความเข้าใจคลาดเคลื่อนในทิศทางเดียวกัน จํานวน 8 จาก 10 ข้อ
dc.language.iso th
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject เมทริกซ์ -- แบบทดสอบ
dc.subject พีชคณิตนามธรรม
dc.subject แมตริกซ์
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาคณิตศาสตร์ศึกษา
dc.title ผลกระทบของแบบทดสอบที่มีตัวลวงจากความเข้าใจคลาดเคลื่อน เรื่อง เมทริกซ์
dc.title.alternative The effect of the test with distrctors constructed from misconception on mtrix
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purposes of this research were to study the effect of the test with distractors constructed from misconception on Matrix using percentage and independent samples t-test. The sample is 174 Grade-11 Science-Mathematics program students at Sakonnakhon Pattanasuksa School during the first semester of the academic year 2017 were volunteer to take the test. The sample was selected simple randomly for 87 students are experimental group and 87 students are control group. The research instruments were the normal test and the test with distractors constructed from misconception. The results revealed that 1) the multiple choice test scores of the normal test (Mean 7.24) higher than the test with distractors constructed from misconception (Mean 5.93) at a statistically significant level of .05, 2) the middle group that the multiple choice test is the same wrong answer as the subjective test of the test with distractors constructed from misconception more than the good group for 8 form 10 items.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline คณิตศาสตร์ศึกษา
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account