DSpace Repository

การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์การแปรรูปอาหารสุขภาพในรายวิชาโครงงานวิชาชีพอาหารและโภชนาการของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สถาบันการอาชีวศึกษา

Show simple item record

dc.contributor.advisor สมโภชน์ อเนกสุข
dc.contributor.advisor สุรีพร อนุศาสนนันท์
dc.contributor.author สุภารัตน์ ช่างล้อ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T04:02:34Z
dc.date.available 2023-05-12T04:02:34Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7503
dc.description ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันความคิดสร้างสรรค์การแปร รูปอาหารสุขภาพจากข้อมูลเชิงประจักษ์และเพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริม ความคิดสร้างสรรค์การแปรรูปอาหารอาหารสุขภาพและการประเมินความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ อาหารสุขภาพของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สถาบันการอาชีวศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาสาขาวิชาอาหารและโภชนาการระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูงชั้นปีที่ 2 จํานวน 523 คน ครูผู้สอนสาขาวิชาอาหารและโภชนาการ จํานวน 13 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นและ มีคุณภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดสถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์ เนื้อหาและสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า 1.องค์ประกอบเชิงยืนยันความคิดสร้างสรรค์ในการแปรรูปอาหาร ด้วย 1. คิดริเริ่ม 2.คิดคล่อง 3.คิดยืดหยุ่น 4.คิดละเอียดลออ มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าสถิติ ยืนยัน ดังนี้ ค่าไค-สแควร์ มีค่าเท่ากับ 887.961; p=.000 ที่องศาอิสระเท่ากับ 731 ค่า / df 2 = 1.215 ค่า CFI เท่ากับ .986ค่า GFI เท่ากับ .921 ค่า AGFI เท่ากับ .900 และค่า RMSEA เท่ากับ 0.021 2. กิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ในการแปรรูปอาหารสุขภาพ คือ ได้แก่ การดู ภาพอาหารการชมการแข่งขัน การแปรรูปอาหารและการทัศนศึกษาร้านอาหารสุขภาพ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดริเริ่ม กิจกรรมการเชิญผู้เชี่ยวชาญด้านอาหารสุขภาพมาให้ความรู้ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดริเริ่ม ความคิดคล่อง การเชิญผู้เชี่ยวชาญมาสาธิตและฝึกปฏิบัติเป็น กิจกรรมเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดริเริ่ม ความคิดคล่องและความคิดหยืดหยุ่น กิจกรรมการฝึก การกำหนดรายการอาหารเพื่อสุขภาพ กิจกรรมการปฏิบัติการการทําผลิตภัณฑ์ที่สร้างสรรค์ และนําเสนอภายในชั้นเรียน กิจกรรมการเข้าร่วมการแข่งขันการแปรรูปอาหาร การจัดแสดง ผลงานในการนําเสนองานจากการเรียนวิชาโครงงานวิชาชีพเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดริเริ่ม ความคิดคล่องความคิดยืดหยุ่นและความคิดละเอียดลออ 3. ผลการประเมินความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปี 2 พบว่า กลุ่มกลุ่มที่ใช้กิจกรรมมีความคิดสร้างสรรค์สูงขึ้น ร้อยละ 92.48 ขณะที่กลุ่มไม่ใช้กิจกรรมมีความคิดสร้างสรรค์สูงขึ้น ร้อยละ 72.19
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject การศึกษาทางอาชีพ
dc.subject การแปรรูปอาหาร
dc.subject การศึกษาทางวิชาชีพ
dc.subject อาหารเพื่อสุขภาพ
dc.subject นักเรียนอาชีวศึกษา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา
dc.title การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์การแปรรูปอาหารสุขภาพในรายวิชาโครงงานวิชาชีพอาหารและโภชนาการของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สถาบันการอาชีวศึกษา
dc.title.alternative The development of teching nd lerning ctivities to enhnch crettive thinking in voctionl project on food nd nutrition diplom student in Voction Eduction Commission
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The objective of this research were : 1) confirmatory Factor Analysis of Creative Thinking of Factors Have on Health Food Processing. With evidence data from the 2nd year. Food and nutrition diploma students in the vocation education commission. 2) To develop creative thinking for students with in the health food processing consisted of vocational certificate level. The sample consisted 523 diploma students in Food and Nutrition and 13 teachers in Food and Nutrition department. The data collected by observation, semi-structure interview and questionnaires. The statistics for quantitative data analysis were frequency percentage, mean, standard deviation Confirmatory Factor Analysis (CFA) and effect size. The qualitative data analyzed by content analysis and inductive approach. The findings from the study were as follows: 1. Confirmatory Factor Analysis of 4 Factors in Creative Thinking model has corresponded to the evidence data ( 2  =887.961 ; p=.000 degree of freedom 731 / df 2  = 1.215, CFI =.986, GFI = .921, AGFI =.900, RMSEA =0.021) 2. The learning affinities for enhanced. Creative thinking for food and Nutrition Students were Of Creative thinking for the evaluation results of creative thinking for Food and Nutrition Students, The learning activities. Group has 92.48 percentages up score and the regular group has 72.19 Percentage up score
dc.degree.level ปริญญาเอก
dc.degree.discipline วิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา
dc.degree.name ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account