DSpace Repository

การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการสอนสำหรับพระสอนศีลธรรมระดับชั้นประถมศึกษาตามโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนของกระทรวงศึกษาธิการ

Show simple item record

dc.contributor.advisor ศรีวรรณ ยอดนิล
dc.contributor.advisor สุวิชัย โกศัยยะวัฒน์
dc.contributor.author พระเอนก บุญโยประการ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:59:04Z
dc.date.available 2023-05-12T03:59:04Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7489
dc.description ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการสอนความต้องการการฝึกอบรม การสอนของพระสอนศีลธรรมระดับชั้นประถมศึกษาและพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการสอนสำหรับพระสอน ศีลธรรมระดับชั้นประถมศึกษาตามโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนของกระทรวงศึกษาธิการ การศึกษาสภาพปัญหาการสอน ผู้ให้ข้อมูลจํานวน 20 รูป โดยเลือกแบบเจาะจง การศึกษาความต้องการ การฝึกอบรม กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 226 รูป จากคณะสงฆ์ภาค 13 ใชเทคนิคการสุ่มแบบแบ่งชั้นการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการสอนสำหรับพระสอนศีลธรรมระดับ ชั้นประถมศึกษาตามโครงการ พระสอนศีลธรรมในโรงเรียนของกระทรวงศึกษาธิการ ประกอบด้วย 4 ขั้น คือการวางแผนหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตรการนำหลักสูตรไปใช้และการประเมินและปรับปรุงหลักสูตรกลุ่มทดลองจำนวน 30 รูป โดยเลือกแบบเจาะจงผลการวิจัยพบว่า 1. พระสอนศีลธรรมมีปัญหาการสอนในด้านเนื้อหาและหลักสูตรด้านแผนการสอน ด้านวิธีการสอน ด้านสื่อการสอน และด้านการวัดผลและประเมินผลการสอน 2. พระสอนศีลธรรมที่ปฏิบัติการสอนระดับชั้นประถมศึกษาในโรงเรียนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการซึ่งอยู่ในความปกครองของคณะสงฆ์ภาค 13 มีระดับความต้องการการฝึกอบรมการสอน โดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมากเรียงลำดับจากมากไปหาน้อยได้แก่ ด้านแผนการสอน ด้านเนื้อหาและหลักสูตร ด้านวิธีการสอน ด้านการวัดผลและประเมินผลการสอน และด้านสื่อการสอน 3. การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการสอนสำหรับพระสอนศีลธรรมระดับชั้นประถมศึกษาตามโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนของกระทรวงศึกษาธิการ พบว่ากลุ่มทดลองมีผลคะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์สูงกว่าเกณฑ์ค่าเฉลี่ย .20 สําหรับการประเมินทักษะการเขียนแผนการสอนหรือ แผนการจดัการเรียนรู้ของกลุ่มทดลองโดยรวมอยู่ในระดับมาก นอกจากนี้กลุ่มทดลองมีความคิดเห็น ต่อหลักสูตรฝึกอบรมการสอนโดยรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการศึกษาและการพัฒนาสังคม
dc.subject พุทธศาสนา -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)
dc.subject โครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน
dc.subject ศีลธรรมจรรยา -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)
dc.subject สงฆ์ -- การฝึกอบรม
dc.title การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการสอนสำหรับพระสอนศีลธรรมระดับชั้นประถมศึกษาตามโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนของกระทรวงศึกษาธิการ
dc.title.alternative Trining curriculum development for morl teching t primry school level by monks in morl teching project of ministry of eduction
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purposes of this research aimed to study the moral teaching problems and the teaching training needs at primary school level of monks in Moral Teaching Project of Ministry of Education, and develop training curriculum for moral teaching at primary school level by monks in Moral Teaching Project of Ministry of Education. The sample used for interview on the moral teaching problems included 20 monks in moral teaching project at primary school level were selected by purposive selection. The sample group used for questionnaire in accordance with the teaching training needs comprised of 226 monks in moral teaching project at primary school level from the region 13 were selected by stratified random sampling method. The training curriculum development was implemented covering four processes as follows: 1) curriculum plan, 2) curriculum design, 3) curriculum implementation, and 4) curriculum evaluation & revision. The experimental group consisted of 30 monks were selected by purposive selection. The research revealed that: 1. The moral teaching problems at primary school level of monks were found that conveyed the lack of knowledge and skill for the teaching as follows: the subject content and curriculum, the lesson plan, the teaching method, the instructional media, and the evaluation. 2. The training needs for moral teaching at primary school level of monks as overall and each element were high level. While the training needs were ranked in descending order, it could be arranged as the lesson plan, the subject content and curriculum, the teaching method, the evaluation, and the last one was the instructional media. 3. The training curriculum development was found that the relative growth score of the experimental group was above average at .20, the evaluation for lesson plan skill and the opinion for training curriculum of the experimental group as overall were high level.
dc.degree.level ปริญญาเอก
dc.degree.discipline การศึกษาและการพัฒนาสังคม
dc.degree.name ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account