dc.contributor.advisor |
ภาวิณี ศักดิ์สุนทรศิริ |
|
dc.contributor.author |
มนศิต กุลมาตย์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T03:58:59Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T03:58:59Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7471 |
|
dc.description |
งานนิพนธ์ (วศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
แม่พิมพ์ยางเป็นผลิตภัณฑ์ต้นน้ำในการผลิตยาง ซึ่งในการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของยางแต่ละเส้น มักไม่นำแม่พิมพ์ยางมาใช้ในการคำนวณ และการเติบโตด้านการขนส่งที่เพิ่มขึ้นตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ทำให้มีการผลิตแม่พิมพ์ยางเพิ่มมากขึ้น ผู้ผลิตยางมักสั่งซื้อแม่พิมพ์ยางโดยใช้ความเคยชินจากการสั่งซื้อในอดีต และไม่ได้พิจารณาถึงคาร์บอนฟุตพริ้นท์ซึ่งเป็นปัจจัย ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม การศึกษานี้จึงประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ (CFP) ของแม่พิมพ์ลายดอกยาง 1 ชุดของแม่พิมพ์ 2 ชนิด ที่สามารถผลิตยางรูปแบบเดียวกัน ได้แก่ แบบพลาสเตอร์ชิ้นใหญ่ (sector) และแบบพลาสเตอร์ชิ้นเล็ก (element) โดยใช้วิธีวิเคราะห์ระบบพลังงาน (TES) ISO 13602-1 เพื่อศึกษากระบวนการผลิตแม่พิมพ์ตั้งแต่การได้มาซึ่งวัตถุดิบจนถึงการขาย ผลิตภัณฑ์หรือแบบ B2B ดำเนินการประเมินวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ (LCA) ตาม ISO 14044 และประเมิน CFP ด้วย ISO/DIS 14067.2 การเก็บข้อมูลใช้การเก็บข้อมูลแบบผสมทั้งการเก็บข้อมูลทางตรง (PCA) และการใช้ข้อมูลอ้างอิง (IOA) แบ่งข้อมูลการปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจก (GHG) เป็นข้อมูลการปลดปล่อยจากวัตถุดิบพลังงานไฟฟ้าในกระบวนการผลิต การขนส่งและเครื่องจักรอุปกรณ์ผลการประเมินพบว่า CFP ของแม่พิมพพ์แบบ sector เป็น 3,851 kgCO2e และแบบ element เป็น 6,115 kgCO2e โดยปัจจัยหลักที่ทำให้แบบ element มี CFP มากกว่า คือ วัตถุดิบอลูมิเนียม ซึ่งสามารถนำข้อมูลไปเป็นปัจจัยหนึ่งในการสั่งซื้อแม่พิมพ์ของผู้ผลิตยาง รวมถึงการปรับปรุง กระบวนการเพื่อลด CFP ได้ |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
คาร์บอนฟุตพริ้นท์ |
|
dc.subject |
ยางล้อ |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิศวกรรมเคมีและสิ่งแวดล้อม |
|
dc.title |
การประเมินเพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของคาร์บอนฟุตพริ้นท์แม่พิมพ์ลายดอกยางแบบพลาสเตอร์ชิ้นใหญ่และพลาสเตอร์ชิ้นเล็ก |
|
dc.title.alternative |
Comprtive ssessment of cfp in tire sculpture mold: sector type nd element type |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
Tire mold is a product used in upstream process of tire manufacturing but all carbon footprint of tire did not taken into account the greenhouse gas emission from mold manufacturing. The growth in transportation sector causes the increase in tire mold demand. The tire manufacturers usually buy the mold based on their experiences and do not consider the CFP which is the energy and environment impact. This study is to analyze and compare the CFP of 2 types of plaster mold which can be used to manufacture the same tire; sector and element type. The study follows Technical Energy System in ISO13602-1 to create the manufacturing flow of tire mold since the raw material supply process until the mold is ready to sell (B2B). Life Cycle Analysis in ISO 14044 and Carbon Footprint in ISO/DIS 14067.2 are used to collect data with the mixed method of Process Chain Analysis and Input-Output Analysis. The data input for GHG emission calculation is categorized as the emission from raw material, electrical energy in manufacturing process, transportation and machine and equipment (capital input). The result shows that CFP of sector-type mold is 3,851 kgCO2 e and element-type is 6,115 kgCO2 e. The major sourceof higher GHG content in the element-type is the high GHG embodied in the aluminum, its major input materials. The result is beneficial for the tire manufacturer to select the mold type and can be also used to improve the process to reduce the CFP. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
วิศวกรรมเคมีและสิ่งแวดล้อม |
|
dc.degree.name |
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|