dc.contributor.advisor |
สมหมาย แจ่มกระจ่าง |
|
dc.contributor.advisor |
สุรินทร์ สุทธิธาทิพย์ |
|
dc.contributor.author |
ปาร์ยชญาน์ วงษ์ไตรรักษ์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T03:55:27Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T03:55:27Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7422 |
|
dc.description |
ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอรูปแบบและประสบการณ์การดูแลผู้สูงอายุติดเตียงที่บ้านที่ดีโดยครอบครัว เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยการเก็บข้อมูลแบบเจาะจงตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) และการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Non-participant observation) เลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเจาะจงตามเกณฑ์ จำนวน 20 คน ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการดูแลผู้สูงอายุติดเตียงที่บ้านโดยครอบครัว ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบที่ 1 การยอมรับการเป็นผู้ดูแล (Acceptance to be a caregiver) มี 4 ประเด็น คือ 1) การตัดสินใจในการทำหน้าที่เป็นผู้ดูแลหลัก 2) การประเมินตนเอง และเศรษฐกิจของผู้ดูแล 3) การจัดการตนเอง เพื่อจัดการปัญหาด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ และบทบาทหน้าที่ที่รับผิดชอบของตนเอง 4) ผลตอบแทนที่ตนเองได้รับจากการเข้ามาทำหน้าที่เป็นผู้ดูแลหลัก องค์ประกอบที่ 2 การปรับตัวและการพัฒนาของผู้ดูแลหลัก (Adjustment and development) ในด้านการเรียนรู้ การลงมือปฏิบัติ การปรับปรุงพัฒนา และการประเมินผล เพื่อให้เกิดกระบวนการดูแลที่ดี มี 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การเตรียมความพร้อมก่อนกลับบ้านหลังจากพักรักษาตัวที่โรงพยาบาล ระยะที่ 2 การดูแลที่บ้าน ระยะที่ 3 การพัฒนาและการดูแลที่ดีอย่างต่อเนื่อง องค์ประกอบที่ 3 การเอื้ออาทรจากชุมชน (Assistance from community) ได้แก่ เครือญาติ เพื่อนบ้าน ชุมชน ทีมสุขภาพในชุมชน (ทีมหมอครอบครัว อสม. ทีมบุคลากรด้านสุขภาพ) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการให้ความช่วยเหลือสนับสนุนเพื่อให้สถาบันครอบครัวมีความเข้มแข็งในการดูแลผู้สูงอายุอย่างยั่งยืน |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการศึกษาและการพัฒนาสังคม |
|
dc.subject |
ผู้สูงอายุ -- การดูแลที่บ้าน |
|
dc.subject |
ผู้สูงอายุ -- สุขภาพและอนามัย |
|
dc.subject |
การพยาบาลในเคหะสถาน |
|
dc.subject |
วิทยานิพนธ์?aปริญญาเอก |
|
dc.title |
รูปแบบการดูแลผู้สูงอายุติดเตียงที่บ้านโดยครอบครัว |
|
dc.title.alternative |
Fmily cregivers model for bed bound elders t home |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
This qualitative research aimed to study and synthesize the care model of bed bound elders by family caregivers at home. In-depth interview and non-participant observation were used. The purposive selection of 20 family caregivers at the primary home care who met the good caregiver criteria score were invited. The result revealed that family caregiver model for bed bound elderly at home consisted of three elements: firstly, acceptance to be a caregiver, consisting of 1) deciding to be a family caregiver 2) self-assessment including and economic status. 3) self-management to manage the problems on health, economic and responsible roles. 4) self-reimbursement from family caregiver. Secondly, adjustment and development consisted of learning to practice. Improvement and evaluation to reach a good care process in three phases: phase 1: learning before leaving the hospital, phase 2: continuing care at home, and phase 3: developing and maintaining good care continuously. Thirdly, Assistance from community: they were supported by relatives, neighbors, the community health volunteers the community health care team, and local government in order to empower the family to become a caregiver for a sustainable elderly care. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาเอก |
|
dc.degree.discipline |
การศึกษาและการพัฒนาสังคม |
|
dc.degree.name |
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|