DSpace Repository

ปัจจัยทำนายความผาสุกทางใจของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภท

Show simple item record

dc.contributor.advisor ภรภัทร เฮงอุดมทรัพย์
dc.contributor.advisor ดวงใจ วัฒนสินธุ์
dc.contributor.author สุพัตรา บำรุงจิตร
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:45:58Z
dc.date.available 2023-05-12T03:45:58Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7349
dc.description วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)-- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract ความผาสุกทางใจเป็นเครื่องบ่งชี้ภาวะสุขภาพที่สำคัญสำหรับผู้ดูแลผู้ปูวยจิตเภทที่มีผลต่อการดูแลผู้ปูวยจิตเภทเป็นอย่างมาก การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความผาสุกทางใจ และปัจจัยทำนายความผาสุกทางใจของผู้ดูแลผู้ปูวยจิตเภทที่มารับบริการ ณ โรงพยาบาลจิตเวชสระแก้วราชนครินทร์ จังหวัดสระแก้ว จำนวน 120 ราย คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินความผาสุกโดยทั่วไป แบบประเมินการรับรู้ความสามารถของตนเองใน การดูแลผู้ปูวยจิตเภท แบบประเมินการรับรู้ภาระในการดูแลของผู้ดูแลผู้ปูวยจิตเภท แบบประเมินความหวัง และแบบประเมินการสนับสนุนทางสังคม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า ผู้ดูแลผู้ปูวยจิตเภทมีความผาสุกทางใจโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( = 71.74, SD = 9.27) ผลการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอนพบว่า การรับรู้ภาระในการดูแล และความหวัง สามารถร่วมกันทำนายความผาสุกทางใจของผู้ดูแลผู้ปูวยจิตเภทได้ร้อยละ 27 (R 2 = .27, F = 21.69, p< .001) โดยตัวแปรที่สามารถทำนายความผาสุกทางใจของผู้ดูแลผู้ปูวย จิตเภทได้สูงสุด คือ การรับรู้ภาระในการดูแล (β = -.334, p< .001) รองลงมาคือความหวัง (β = .226, p< .05) ผลการศึกษาในครั้งนี้สามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับบุคลากรทางสุขภาพ ในการออกแบบจัดโปรแกรมเพื่อส่งเสริมความผาสุกทางใจของผู้ดูแลผู้ปูวยจิตเภทโดยเน้นการเสริมสร้างความหวัง และลดภาระการดูแลของผู้ดูแล
dc.language.iso th
dc.publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject ผู้ป่วยจิตเภท
dc.subject ผู้ป่วยจิตเภท -- การดูแล
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
dc.title ปัจจัยทำนายความผาสุกทางใจของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภท
dc.title.alternative Fctors predicting psychologicl well-being mong cregivers of ptients with schizophreni
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative Psychological well-being is an important health indicator for caregivers of patients with schizophrenia that effect to schizophrenic care. The purposes of this predictive correlational study were to investigate psychological well-being and its predicting factors among 120 caregivers of patients with schizophrenia in Sakaeo Rachanakarindra Psychiatric Hospital. The sample was selected by using simple random sampling technique. Data were collected by using self-report questionnaires regarding personal information, psychological well-being, self-efficacy specific to caring for schizophrenic patient, caregiver burden, hope and social support. Descriptive statistics, and stepwise multiple regression analysis were employed to analyze the data. It was found that psychological well-being of caregiver was at a moderate level ( = 71.74, SD = 9.27). Results of stepwise multiple regression analysis revealed that caregiver burden and hope together could explain 27 percent of variance of caregivers’ psychological well-being (R 2 = .27, F = 21.69; p< .001). The most significant predicting factor was caregiver burden (β = -.334, p< .001) followed by hope (β = .226, p< .05). Results of this study provide useful information for health care providers to design intervention programs to promote psychological well-being of caregivers of patients with schizophrenia by enhancing their hope and reducing caregiver burden.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
dc.degree.name พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account