DSpace Repository

ปัญหาทางกฎหมายในการบังคับใช้ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 287 วรรคหนึ่ง

Show simple item record

dc.contributor.advisor ประลอง ศิริภูล
dc.contributor.author นิติพงษ์ วงศ์สวรรค์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:42:59Z
dc.date.available 2023-05-12T03:42:59Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7289
dc.description งานนิพนธ์ (น.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract จากการศึกษากฎหมายเกี่ยวกับความผิดฐานสื่อลามกอนาจารเด็กตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 287/1 พบว่า การบังคับใช้อาจเกิดปัญหาขึ้นในทางปฏิบัติ เนื่องจากการกําหนดคํานิยามที่ปรากฎอยู่ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 1 (17) เป็นการกําหนดโดยคํานึงถึงแต่เฉพาะเด็กที่เป็นมนุษย์เท่านั้น อาจจะยังไม่เพียงพอ เนื่องจากหากพิจารณาถึงความก้าวหน้าของการพัฒนา เทคโนโลยีในปัจจุบันที่มีสื่อลามกอย่างอื่นที่ไม่ใช่เด็กเป็นผู้แสดง หากไม่ได้บัญญัติครอบคลุมถึง อาจส่งผลให้ผู้ผลิตสื่ออาศัยเป็นช่องโหว่งในการผลิตสื่อลามกเด็ก ประเด็นต่อมาเป็นข้อต่อสู้ของผู้กระทําความผิดที่อาจยกข้อต่อสู้เกี่ยวกับอายุของเด็กในสื่อลามก โดยอ้างเหตุไม่รู้ข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบของความผิด เพราะการไม่รู้ดังกล่าวแสดงว่าผู้กระทําความผิดนั้นขาดเจตนาในการกระทําความผิดตามมาตรา 59 วรรคสาม ข้อเสนอแนะ ควรแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 1 (17) โดยเพิ่ม ความหมายของ“สื่อลามกอนาจารเด็ก” ครอบคลุมถึงสื่อลามกเด็กที่เด็กในสื่อนั้นถูกสร้าง หรือจําลองขึ้นโดยคอมพิวเตอร์ด้วย และเพิ่มเติมข้อความมาตรา 285/1 วรรคท้าย บัญญัติว่า “การกระทําความผิดตามมาตรา 287/1 วรคหนึ่ง ห้ามอ้างความไม่รู้อายุของเด็กเพื่อให้พ้นจากความผิดนั้น”
dc.language.iso th
dc.publisher คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject กฎหมายอาญา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชากฎหมายอาญาและอาชญาวิทยา
dc.subject สื่อลามกอนาจาร -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ
dc.subject ความผิด (กฎหมาย)
dc.title ปัญหาทางกฎหมายในการบังคับใช้ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 287 วรรคหนึ่ง
dc.title.alternative Legl problems in the enforcement problems of rticle 287 prgrph 1 in criminl code
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The study of laws related the offense of child pornography according to the Criminal Code Article 287/1 found that its enforcement might cause some practical problems. This came from the definition appeared in the Criminal Code Article 1 (17) was enacted by considering child as a human being only that has not been covered enough. Due to the progress of technological development today, there were other pornographies than child as an actor, if there was no inclusive enactment it might be a loophole for media producers to make child pornographies. Another point, it might be used as an offender’s defence on the age of child in pornography that would be an excuse for ignoring of the elements of crime. Such ignorance would be indicated that the offender had no intent on criminal offense of Article 59 Paragraph 3. Suggestion – The Article 1 (17) of Criminal Code should be amended in the definition of “Child Pornography” to cover pornographies that had child as an actor whether created or modeled by computer. Moreover, the Article 285/1 should be amended as follows; “The offense under Article 287/1 Paragraph 1,defence on the age of child for acquitting is prohibited”.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline กฎหมายอาญาและอาชญาวิทยา
dc.degree.name นิติศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account