dc.contributor.advisor |
ไพฑูรย์ โพธิสว่าง |
|
dc.contributor.author |
ณัฐศักดิ์ ขันอาสา |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T03:39:10Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T03:39:10Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7255 |
|
dc.description |
งานนิพนธ์ (ร.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาระดับความต้องการจัดการสวัสดิการของกําลังพลกองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ฯ 2. เพื่อเปรียบเทียบความต้องการจัดการสวัสดิการจําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของกําลังพลกองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ฯ โดยศึกษาเฉพาะกําลังพลกองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ฯ จํานวน 254 นาย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ การแจกแจง ความถี่ค่าร้อยละการหาค่าเฉลี่ยและการหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานในการทดสอบสมมติฐานใช้ One-way ANOVA ทดสอบสมมติฐานหาค่าความแตกต่างวิเคราะห์เปรียบเทียบตัวแปรอิสระ ตั้งแต่สามกลุ่มขึ้นไป ผลการวิจัยพบว่า กําลังพลที่ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นต่อความต้องการจัดการสวัสดิการ โดยภาพรวม ในระดับมากที่สุด (𝑥𝑥̅=4.52) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่ากําลังพล มีความคิดเห็นต่อความต่องการจัดการสวัสดิการทั้ง 7 ด้านอยู่ในระดับมากที่สุด ได้แก่ สวัสดิการ ด้านนันทนาการ (𝑥𝑥̅=4.46) สวัสดิการด้านการทํางาน (𝑥𝑥̅=4.44) สวัสดิการด้านการมีรายได้เสริม (𝑥𝑥̅=4.40) สวัสดิการด้านการศึกษา (𝑥𝑥̅=4.30) สวัสดิการด้านความมั่นคงทางสังคม (𝑥𝑥̅=4.29) สวัสดิการด้านสุขภาพอนามัย (𝑥𝑥̅=4.29) และสวัสดิการด้านที่อยู่อาศัย (𝑥𝑥̅=4.22) ตามลําดับ ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ความคิดเห็นของกําลังพลเกี่ยวกับการจัดการสวัสดิการของกองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ฯ มีความแตกต่างกันตามประเภทชั้นยศ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.05 ในส่วนของอายุ สถานภาพการสมรส ระดับการศึกษา ตําแหน่ง และอายุการทํางานของกําลังพลมีความต้องการจัดสวัสดิการกองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ฯ ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ.05 ข้อเสนอแนะ จากการวิจัย คือ หน่วยควรจัดให้มีสวัสดิการทั้งในด้านความมั่นคงทางสังคม ด้านการมีรายได้เสริม รวมถึงการนันทนาการและการดูแลสุขภาพไปพร้อมกัน และจัดให้มีทุนการศึกษาอบรมแก่กําลังพล ในทุกด้านนอกเหนือจากที่กองทัพบกจัดให้ซึ่งจะเป็นการเพิ่มพูนความรู้ ความเชี่ยวชาญของกําลังพลต่อไป |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
การจัดการองค์การ |
|
dc.subject |
สวัสดิการทหาร |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการเมืองการปกครอง |
|
dc.title |
การจัดการสวัสดิการกำลังพล กองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ฯ |
|
dc.title.alternative |
Welfre mngements of stffs in the 3rd infntry bttlion, 21st infntry regiment queen,s gurd |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The research is a quantitative research study with the objective to welfare managements of staffs in the 3rd Infantry Battalion 21st Infantry Regiment Queen’s Guard, and to compare the need to welfare managements of staffs in the 3rd Infantry Battalion 21st Infantry Regiment Queen’s Guard. Personal factors are classified studies from staffs of the 3rd Infantry Battalion 21st Infantry Regiment Queen’s Guard. A total of 254 soldiers. The statistic used in the analysis were frequency, percentage ,average and the standard deviation, in hypothesis testing using statistic F-test or Oneway a hypothesis of variance (ANOVA) to test hypothesis for the difference, comparative analysis variables from three group or more and the method LSD ( Least significant difference test) The results show that the majority of staffs. Opinions on highest level (𝑥𝑥̅=4.52) considering it was found that the troops have any comments on the need for demand management 7 side in the highest such as Recreational welfare (𝑥𝑥̅=4.46), work welfare (𝑥𝑥̅=4.44), extra income welfare (𝑥𝑥̅=4.40), education welfare (𝑥𝑥̅=4.30), social security welfare (𝑥𝑥̅=4.29), health and sanitation welfare (𝑥𝑥̅=4.29) and shelter welfare (𝑥𝑥̅=4.22). The results of the test showed that my opinions about welfare managements of staffs in the 3rd Infantry Battalion 21st Infantry Regiment Queen’s Guard. A different type of class rank and income per month. The statistical significance level 0.5 and marital status, education level, job position and work experience. Welfare managements of staffs in the 3rd Infantry Battalion 21st Infantry Regiment Queen’s Guard. There was no difference between the statistical significance level 0.5 suggestions about the requirement. The research about military should provide benefits in terms of social stability. The extra income including recreation and health care along the way and provide scholarships for training personnel in all aspects other than the army provided. Enhancing knowledge expertise of the staffs |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
การเมืองการปกครอง |
|
dc.degree.name |
รัฐศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|