dc.contributor.author |
นิสากร กรุงไกรเพชร |
th |
dc.contributor.author |
พัชรินทร์ พูลทวี |
th |
dc.contributor.author |
สุวรรณา จันทร์ประเสริฐ |
th |
dc.contributor.author |
วันดี โตรักษา |
th |
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T08:53:03Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T08:53:03Z |
|
dc.date.issued |
2553 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/713 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้การบริหารจัดการสุขภาพเด็กวัยเรียน ภาคตะวันออก กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้แทนจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการดูแลสุขภาพวัยเรียน ได้แก่ ครอบครัว,โรงเรียน,สถานบริการสุขภาพ,องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น,องค์กรชุมชนต่างๆ และผู้นำในชุมชนใน 3 หมู่บ้าน ของพื้นที่ 2 ตำบล จังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยอง กระบวนการศึกษาเพื่อประเมินรูปแบบเครือข่ายการบริหารจัดการสุขภาพเด็กวัยเรียนเดิมของชุมชนและการพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้ใช้กระบวนการประชาคม การประชุมกลุ่มย่อย การสัมภาษณ์เชิงลึก โดยได้มีการตรวจสอบความถูกต้อง ความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่ได้ด้วยการเก็บข้อมูลจากหลายๆแหล่งร่วมกัน (triangulation technique) การสะท้อนกลับของข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง (data reflections) นำข้อมูลทีได้มาวิเคราะห์เนื้อหา ได้ผลการศึกษาดังนี้
1.รูปแบบเครือข่ายการบริหารจัดการสุขภาพเด็กวัยเรียนของชุมชนเดิม ประกอบด้วย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการจัดการสุขภาพเด็กวัยเรียนจากองค์กรชุมชนทุกภาคส่วน และผู้นำชุมชน ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นผู้นำแบบเป็นทางการ รวมตัวกันและดำเนินงานตามบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ ตามหน่วยงานที่ตนสังกัดอยู่ แกนนำในการประชุมจะเป็นผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เครือข่ายมีความสัมพันธ์กันแบบแนวราบ
2.รูปแบบการแก้ไขปัญหาสุขภาพเด็กวัยเรียนของเครือข่าย ประกอบด้วย 1) การดำเนินงานตามผู้รู้ จากภายในและภายนอกที่คิดแทนชุมชนแล้วนำความรู้นั้นมามอบให้กับชุมชน 2) การดำเนินงานตามแผนโครงการขององค์กรชุมชนเอง และ/หรืออาศัยการมีส่วนร่วมจากสมาชิกชุมชน ซึง่จะมีความแตกต่างกันตามบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบที่ดำเนินการอยู่ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ 3) ชุมชนคิดริเริ่ม และดำเนินการเอง
3.กระบวนการพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้ประกอบด้วย การเตรียมความพร้อมก่อนการสร้างเครือข่าย, การสร้างเครือข่าย และการจัดเวทีแลกเปลียนเรียนรู้ โดยบรูณาการเข้ากับบทบาทหน้าที่เดิมและเปิดโอกาสให้บุคคลทั่วไปได้เข้ามามีส่วนร่วม ผลผลิตที่ได้ทำให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันของชุมชนทั้งในระดับกลุ่มและเครือข่าย รวมทั้งเกิดจิตสำนึกในการทำงานร่วมกัน การทำงานบูรณาการทุกภาคส่วน การขยายความรู้ และการรับรู้ และการพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
งานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยบูรพา ปีงบประมาณ 2551 โดยความเห็นชอบของสำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (วช.) |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
School-age Children. |
th_TH |
dc.subject |
นักเรียนประถมศึกษา - - สุขภาพและอนามัย |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
th_TH |
dc.subject |
สุขภาพ - - การจัดการ |
th_TH |
dc.subject |
เด็ก - - สุขภาพและอนามัย - - วิจัย |
th_TH |
dc.title |
การพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้การบริหารจัดการสุขภาพเด็กวัยเรียนภาคตะวันออก |
th_TH |
dc.title.alternative |
The learning nwtwork of health care administration of school-age children, Eastern region |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.year |
2553 |
|
dc.description.abstractalternative |
The aim of the action research was to develop the learning network of health care administration of school-age children in the eastern community area. The praticipants were the representatives of school-age families, schools, community health centers, local administrators, community committees, etc in 3 villages of two sub-districts in Chonburi and Rayong provinces. The public hearings in community , focus groups, and in depth interviews were conducted for collecting data. Triangulation and data reflections were used to validate the data. The collected data was analyzed by content analysis method. The results were as follows:
1. The existing of learning networks of health care administration of school-age children in communities consisted of multi-stakeholders of tanking care school-age children in community institutions. They convened to judge the design plan for school-age children and performed their duties. The leader was the chairman of the local administrator(s).
2. The designs of problem solving for school-age difficulties include a) complying with scholars’ recommendations, b) to carry out the institutions’ operational plan which was dependant on the duties of each organization, and c) to launch a project to be carried out by the community itselt.
3. The process of development of the learning networks were following the preparation phase, the learning network development phase, and the experimental learning conference phase. The developed network was integrated into the main responsibility of praticipants and gives a chance for all people to participate. The consequences of the network development are community learning both in network and between networks, consciousness building, formal and informal cooperation, extended discussions on school-age knowledge, and continuous quality improvement. |
en |