DSpace Repository

พฤติกรรมและแนวทางการพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนการสอนของครูในอำเภอบางละมุง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3

Show simple item record

dc.contributor.advisor ภารดี อนันต์นาวี
dc.contributor.advisor สถาพร พฤฑฒิกุล
dc.contributor.author ยุทธพล เนตวงษ์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:33:28Z
dc.date.available 2023-05-12T03:33:28Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7126
dc.description งานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการเรียนการสอนของครูในอำเภอบางละมุง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 จำแนกตามอายุ วุฒิการศึกษา และขนาดของสถานศึกษา และศึกษาแนวทาง การพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนการสอนของครูในอำเภอบางละมุง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอน จำนวน 234 คน โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อระหว่าง .25-.76 มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ คะแนนเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) ทดสอบรายคู่ โดยวิธีของ Scheffe และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัย พบว่า 1. พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนการสอนของครูในอำเภอ บางละมุง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 โดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับปานกลาง ยกเว้น ด้านเครือข่ายการศึกษา และการใช้งานประจำและงานบริหาร อยู่ในระดับมาก 2. พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนการสอนของครูในอำเภอ บางละมุง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 จำแนกตามอายุ วุฒิการศึกษา โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 3. พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนการสอนของครูในอำเภอ บางละมุง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 จำแนกตามขนาดโรงเรียน โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject ครูประถมศึกษา -- กิจกรรมการเรียนการสอน
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subject เทคโนโลยีสารสนเทศ -- กิจกรรมการเรียนการสอน
dc.subject การศึกษาขั้นประถม -- กิจกรรมการเรียนการสอน
dc.title พฤติกรรมและแนวทางการพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนการสอนของครูในอำเภอบางละมุง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3
dc.title.alternative Techers behvior nd guide development of using informtion technology in teching nd lerning in Bnglmung district under The Chonburi Primry Eductionl Service Are Office 3
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purposes of this research were to study and compare the teachers behavior using information technology in teaching and learning in Banglamung district under the Chon Buri Primary Educational Service Area Office 3 as classified by age, education and school size, and to study guidelines for the development of teachers’ using information technology in teaching and learning in Banglamung district under the Chon Buri Primary Educational Service Area Office 3. The sample was 234 teachers by stratified random sampling. The research instrument employed for the data collection was a set of 5 rating scale questionnaire. The item discrimination was between .25-.76 and the coefficieut reliability was .93. The statistics used in study were Mean, Standard Deviation, One-way ANOVA, Scheffe’ Test and t-test. The findings of the study show as follows: 1. The teachers behavior using information of technology in teaching and learning in Banglamung district under the Chon Buri Primary Educational Service Area Office 3 in overall and each espect was rated at a moderate level; however, the education network and using routine and administrative work were rated at high level. 2. The teachers behavior in using information of technology in teaching and learning classified by age and education in overall and each espect was not statically significant difference but when classified by the size of school, in overall, was statistically significant difference at .05 level.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การบริหารการศึกษา
dc.degree.name การศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account