DSpace Repository

ความต้องการในการพัฒนาตนเองของครูในสถานศึกษาที่จัดการศึกษาสำหรับผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสกลุ่มที่ 2 สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ

Show simple item record

dc.contributor.advisor สุรัตน์ ไชยชมภู
dc.contributor.author สุธาทิพย์ สังข์แก้ว
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:33:28Z
dc.date.available 2023-05-12T03:33:28Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7123
dc.description งานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract ความมุ่งหมายในการวิจัยในครั้งนี้ เพื่อศึกษาความต้องการในการพัฒนาตนเองของครู ในสถานศึกษาที่จัดการศึกษาสำหรับผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสกลุ่มที่ 2 สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ จำแนกตามตำแหน่ง และประสบการณ์สอน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้านี้ได้แก่ ครูผู้สอนในตำแหน่งข้าราชการ พนักงานราชการและครูอัตราจ้าง ในโรงเรียนสังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่มสถานศึกษาที่จัดการศึกษาสำหรับผู้พิการและเด็กด้อยโอกาส กลุ่มที่ 2 จำนวน 352 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้เป็นแบบสอบถามเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า แบ่งเป็น 5 ระดับ จำนวน 36 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. ความต้องการในการพัฒนาตนเองของครูในสถานศึกษาที่จัดการศึกษาสำหรับผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส กลุ่มที่ 2 สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านความรู้ ด้านทักษะ และด้านเจตคติ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เรียงจากมากไปน้อยได้ดังนี้ ความต้องการ ในการพัฒนาตนเองด้านความรู้ ความต้องการในการพัฒนาตนเองด้านทักษะ และความต้องการ ในการพัฒนาตนเองด้านเจตคติ และเมื่อวิเคราะห์รายด้านปรากฏว่า มีความต้องการในการพัฒนาตนเองอยู่ในระดับมากทุกด้าน 2. ผลการเปรียบเทียบความต้องการในการพัฒนาตนเองของครูในสถานศึกษาที่จัดการศึกษาสำหรับผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส กลุ่มที่ 2 สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ จำแนกตามตำแหน่งโดยรวมและรายด้านแตกต่างกันโดยไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 3. ผลเปรียบเทียบความต้องการในการพัฒนาตนเองของครูในสถานศึกษาที่จัดการศึกษาสำหรับผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส กลุ่มที่ 2 สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ จำแนกตามประสบการณ์สอน โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันโดยไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject การพัฒนาตนเอง
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subject ครูสอนเด็กพิเศษ -- การฝึกอบรมในงาน
dc.subject ครูสอนเด็กพิเศษ -- การประเมินความต้องการจำเป็น
dc.title ความต้องการในการพัฒนาตนเองของครูในสถานศึกษาที่จัดการศึกษาสำหรับผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสกลุ่มที่ 2 สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
dc.title.alternative A study on needs for self development of techers in schools for disdvntged person group 2 under the Specil Eduction Bureu
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The objective of this research was to study the needs for self development of teachers in schools for disadvantaged person group 2 under the Special Education Bureau as classified by positions and teaching experiences of teachers. Samples in this study were 353 government teachers, government employee teachers, contract teachers in schools for disadvantaged person group 2 under the Special Education Bureau. The data collection instrument in this study was a five-point-rating-scale questionnaire containing 36 questions. Statistics used in this study included Mean ( ), Standard Deviation (SD), and t-test. The research reached the following conclusions: 1. The needs for self development of teachers in schools for disadvantaged person group 2 under the Special Education Bureauin all the 3 areas-knowledge, skills and attitude were at a high level. When ranging from the most to the less, this study found that teachers expressed their needs to improve their knowledge the most, then skills and attitudes. 2. The needs for self development of teachers in schools for disadvantaged person group 2 under the Special Education Bureauas classified by positions of teachers, both in general and each aspect, showed no significant difference. 3. The needs for self development of teachers in schools for disadvantaged person group 2 under the Special Education Bureau as classified by teaching experiences of teachers, both in general and each aspect, showed no significant difference.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การบริหารการศึกษา
dc.degree.name การศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account