dc.contributor.advisor |
สุเมธ งามกนก |
|
dc.contributor.author |
นัฏฐิกา นิลสุข |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T03:29:33Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T03:29:33Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7017 |
|
dc.description |
งานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการบริหารจัดการความขัดแย้ง ศึกษาระดับประสิทธิภาพการทำงาน และเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารจัดการความขัดแย้งกับประสิทธิภาพการทำงานของผู้บริหารโรงเรียนตามทัศนคติของครู อำเภอองครักษ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูในโรงเรียนประถมศึกษา อำเภอองครักษ์ สังกัดสำนักงาน เขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก จำนวน 162 คน โดยเทียบจำนวนประชากรกับกลุ่มตัวอย่าง ตามตารางการกำหนดขนาดของเครจซี่ และมอร์แกน (Krejcie & Morgan, 1970, p. 607) เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ได้ค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง .25-.70 และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .91 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s product moment correlation) ผลการวิจัย พบว่า 1. การบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอองครักษ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมาก ไปหาน้อย ตามลำดับ ดังนี้ ด้านการประนีประนอม ด้านการเอาชนะ และด้านการร่วมมือ 2. ประสิทธิภาพการทำงานของผู้บริหารสถานศึกษาอำเภอองครักษ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก เมื่อพิจารณาโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับค่าเฉลี่ย จากมากไปหาน้อย 3 อันดับแรก คือ ด้านความสามารถในการผลิตนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง ด้านความสามารถในการแก้ปัญหาภายในโรงเรียน และด้านความสามารถในการปรับเปลี่ยนและพัฒนาโรงเรียน 3. ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิภาพการทำงาน ตามทัศนคติของครูอำเภอองครักษ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก ในด้านต่าง ๆ พบว่า มีความสัมพันธ์กันปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
ครู -- ทัศนคติ |
|
dc.subject |
การบริหารความขัดแย้ง -- ไทย -- นครนายก |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา |
|
dc.subject |
ผู้บริหารโรงเรียน (ประถมศึกษา) -- การบริหาร -- ไทย -- นครนายก |
|
dc.subject |
โรงเรียนประถมศึกษา -- การบริหาร -- ไทย -- นครนายก |
|
dc.title |
ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิภาพการทำงานตามทัศนคติของครูอำเภอองครักษ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก |
|
dc.title.alternative |
Reltionship between conflict mngement of school dministrtion nd works efficiency by techer ttitude in Ongkrk district under office of Nkornyok primry eduction re |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this research were to study the level of conflict management, level of efficiency, and to find relationship between conflict management and efficiency from teachers perspctives in Ongkarak district under Office of Nakornayok primary educational area. The research participants were 162 teachers teachering in primary schools in Ongkarak district under Office of Nakornayok Primary Educational Area. Research instrument was a questionnaire with 5 point Likert scale. The discriminative power was ranged between .25-.70 and the reliability was at .91. The research data was analyzed by percentage, Means, Standard Deviation, and Pearson’s product moment correlation. The results of the study revealed as follows: 1. Conflict management based on teacher’ perspectives in schools in Ongkarak district under Office of Nakornayok Primary Educational Area as a whole was at a high level. Overall and individual aspects were at a high level. Sort by average to descending order, this study reported the compromise competing and collaborating. 2. School as perceived by teacher in school in Ongkarak district under Office of Nakornayok primary educational area viewed school effectiveness in hight level. The top three rankings were 1) the ability to produce students with high academic achievement, 2) The ability to solve problems within the school, 3) and the ability to adapt and develop schools. 3. The relationship between conflict management of school administrator and works efficiency viewed by teachers in school in Ongkarak district under Office of Nakornayok Primary Educational Area was found statistically significant correlation at .05 level. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
การบริหารการศึกษา |
|
dc.degree.name |
การศึกษามหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|