DSpace Repository

ความต้องการในการพัฒนาตนเองของข้าราชการกรมสารบรรณทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย

Show simple item record

dc.contributor.advisor สุปราณี ธรรมพิทักษ์
dc.contributor.author บัณฑิตย์ บุณยะปาน
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:25:00Z
dc.date.available 2023-05-12T03:25:00Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6898
dc.description งานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การวิจัยเรื่อง “ความต้องการในการพัฒนาตนเองของข้าราชการ กรมสารบรรณทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการและข้อเสนอแนะในการพัฒนาตนเองของข้าราชการ กรมสารบรรณทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย และเปรียบเทียบความต้องการในการพัฒนาตนเอง 5 ด้าน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ วุฒิการศึกษา รายได้ ชั้นยศ ระยะเวลาการปฏิบัติงาน และลักษณะงาน ประชากรที่ใช้ศึกษา คือ ข้าราชการกรมสารบรรณทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย ที่ปฏิบัติราชการประจำ จำนวน 146 นาย ชั้นยศตั้งแต่ สิบตรี, จ่าตรี, จ่าอากาศตรี ถึง พันเอก, นาวาเอก, นาวาอากาศเอก เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา เป็นแบบสอบถาม ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานการวิจัย โดยใช้ค่าที (t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และทดสอบความแตกต่างรายคู่ ด้วยวิธีของ Scheffe’ หรือ LSD ผลการวิจัยพบว่า ข้าราชการ กรมสารบรรณทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย มีความต้องการในการพัฒนาตนเองโดยรวมในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ข้าราชการ กรมสารบรรณทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย มีความต้องการในการพัฒนาตนเอง ทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อเปรียบเทียบความต้องการในการพัฒนาตนเองกับปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า ข้าราชการกรมสารบรรณทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย ที่มีอายุต่างกัน มีความต้องการในการพัฒนาตนเอง ด้านการทัศนะศึกษาและดูงานและด้าน การปฏิบัติงานต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ข้าราชการ กรมสารบรรณทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย ที่มีวุฒิการศึกษาต่างกันมีความต้องการในการพัฒนาตนเองทั้ง 5 ด้านต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ข้าราชการ กรมสารบรรณทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย ที่มีรายได้ต่างกัน มีความต้องการในการพัฒนาตนเองด้านการปฐมนิเทศ, ด้านการฝึกอบรมและด้านการทัศนศึกษาและดูงานต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ข้าราชการ กรมสารบรรณทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย ที่มีชั้นยศและลักษณะงานต่างกัน มีความต้องการในการพัฒนาตนเองด้านการปฐมนิเทศและด้านการฝึกอบรมต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
dc.language.iso th
dc.publisher วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject การพัฒนาตนเอง
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารทั่วไป
dc.subject ทหาร -- การพัฒนาบุคลากร
dc.subject ข้าราชการทหาร -- การพัฒนาตนเอง
dc.title ความต้องการในการพัฒนาตนเองของข้าราชการกรมสารบรรณทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย
dc.title.alternative The desire for self-development of the militry officers t the deprtment of the djutnt generl, the royl thi rmed forces hedqurters
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purposes of the research are to study the desire for self-development and the suggestions of the military officers who work at the Department of the Adjutant General, the Royal Thai Armed Forces Headquarters, and to compare the five aspects of desire classified by personal factors including gender, age, educational background, income, military ranks, working period, and types of work. The population of the research is 146 military officers of the Department of the Adjutant General, the Royal Thai Armed Forces Headquarters who are in the ranks of corporal to colonel. The researcher used a questionnaire that has 0.97 reliability as a research instrument. The statistical methods used in the data analysis are frequency distribution, percentage, average and standard deviation. The hypothesis was tested by t-test, One-way ANOVA and Scheffe’ method or Least significant difference (LSD) method is used to compare if there was statistical significance. The results showed that the military officers of the Department of the Adjutant General, the Royal Thai Armed Forces Headquarters have a high level of desire for self-development in all five aspects. The comparison between the desire for self-development and personal factors reveals that the military officers who are in different ages, have a different desire for self-development through educational visits and operations. The military officers with different educational backgrounds have a different desire for self-development in all five aspects. Moreover, the military officers who earn different incomes have a different self-development desire through orientation, training, educational visits. Furthermore, the military officers who have different ranks and different types of work have a different desire for self-development through orientation and training with a statistical significance of 0.05
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การบริหารทั่วไป
dc.degree.name รป.ม.
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account