dc.contributor.advisor |
ภารดี อนันต์นาวี |
|
dc.contributor.advisor |
สถาพร พฤฑฒิกุล |
|
dc.contributor.author |
ศุภสุตา สังข์ทอง |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T03:21:50Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T03:21:50Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6880 |
|
dc.description |
งานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบปัญหาการจัดการศึกษาปฐมวัย ของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 จำแนกตามประสบการณ์สอน วิชาเอกที่สำเร็จการศึกษาและขนาดโรงเรียน และศึกษาความต้องการของครูในการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัย ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูผู้สอนระดับปฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 จำนวน 162 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าอำนาจจำแนกของแบบสอบถามระหว่าง .23-.90 และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) การทดสอบค่าที (t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และทดสอบรายคู่โดยวิธี Sheffe’s test ผลการวิจัย พบว่า 1. การศึกษาปัญหาการจัดการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับปานกลาง 2. เปรียบเทียบปัญหาการจัดการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 จำแนกตามประสบการณ์การสอน วิชาเอกที่สำเร็จการศึกษา โดยรวม แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ จำแนกตามขนาดของโรงเรียน โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ยกเว้น ด้านการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ความต้องการของครูในการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 มีข้อเสนอแนะ ดังนี้ 1) ควรจัดประสบการณ์ให้เหมาะสมกับความต้องการตามวัยและพัฒนาการเด็ก 2) ควรจัดจำนวนนักเรียนไม่เกิน 20-25 คน ต่อครู 1 คน เพื่อที่จะได้ดูแลทั่วถึง 3) ควรส่งเสริมกระบวนการสังเกต การฟัง การตั้งคำถาม การกล้าแสดงออก 4) ควรจัดกิจกรรมโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 5) ผู้สอนควรประเมินพัฒนาการเด็กให้ครบทุกด้าน 6) ผู้สอนและผู้ปกครองควรมีส่วนร่วมรับผิดชอบในการพัฒนาเด็ก |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
การศึกษาขั้นก่อนประถม |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา |
|
dc.subject |
การศึกษาปฐมวัย |
|
dc.subject |
ครูปฐมวัย |
|
dc.title |
ปัญหาและความต้องการของครูในการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 |
|
dc.title.alternative |
Problems nd needs of techer in development of erly childhood eduction mngement of school under Ryong primry eductionl service re office 1 |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The purposes of this research were to study and compare problems on early childhood education management of school under Rayong Primary Educational Service Area Office 1 as classified by teaching experiences, major of study and school size and to study needs of teacher in development of early childhood education management of the schools. The samples consisted of 162 early childhood teachers from schools under Rayong Primary Educational Service Area Office 1, the were stratified random sampling. The research instrument employed for the data collection was a set of five rating-scale questionnaires which the discrimination of .23-.90 and the reliability of .98. The statistics for data analysis were mean, standard deviation, t-test, One-way ANOVA and Sheffe’s test. The results of the study were as follows: 1. The problems of early childhood education management in schools under Rayong primary educational service area office 1 was rated at medium level. 2. The problems of early childhood education management in the schools as classified by teaching experiences, major of study, and school size in overall were not statically significant difference, except the environment building for early childhood learning was statically significant difference at the .05 level. 3. The needs of teacher in development of education management of early childhood in the schools were that: 1) providing the right experience for early childhood education. 2) reduce the class size to 20-25 students per one teacher. 3) promoting students observation skill asking question, and dare to express. 4) setting up child-center activities. 5) teachers should evaluate the development of early childhood children in all aspects. 6) teachers and parents should participate in developing the children childhood children. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
การบริหารการศึกษา |
|
dc.degree.name |
กศ.ม. |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|