DSpace Repository

ศึกษาสภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนวัดหนองกันเกรา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2

Show simple item record

dc.contributor.advisor ชัยพจน์ รักงาม
dc.contributor.author พรนิภา ชวนชื่น
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:20:19Z
dc.date.available 2023-05-12T03:20:19Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6792
dc.description งานนิพนธ์ (กศ.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การวิจัยครั้¬งนี¬มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบสภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนวัดหนองกันเกรา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนโรงเรียนวัดหนองกันเกรา สังกัดสํานักงานเขตพื้¬นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2 ปี การศึกษา 2559 ประกอบด้วย นักเรียนชั¬นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ซึ่งได้มาจากการเปิดตาราง Krejcie and Morgan (1970, p. 608) ได้กลุ่มตัวอย่างทั้¬งสิ้¬น 167 คน จากนั้นใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้¬งนี้เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าอํานาจจําแนกรายข้อระหว่าง .25 ถึง .97 มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .92 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( X ) ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) การทดสอบค่า (t-test) การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และการทดสอบความแตกต่างรายคู่โดยใช้วิธี Least significant different (LSD) ผลการวิจัย พบว่า 1. สภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนวัดหนองกันเกรา สังกัดสํานักงานเขตพื้¬นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2 พบว่า โดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก 2. สภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนวัดหนองกันเกรา สังกัดสํานักงานเขตพื้¬นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2 จําแนกตามเพศ โดยรวมและรายด้าน แตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้น ด้านสังคมกลุ่มเพื่อนแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสําคัญทางสถิติ 3. สภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนวัดหนองกันเกรา สังกัดสํานักงานเขตพื้¬นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2 จําแนกตามระดับชั้¬น โดยรวมและรายด้าน แตกต่างกันอย่างไม่ มีนัยสําคัญทางสถิติ ยกเว้น ด้านการเรียนการสอน และด้านการให้บริการผู้เรียน แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject สภาพแวดล้อมทางการเรียน
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.title ศึกษาสภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนวัดหนองกันเกรา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2
dc.title.alternative A study of student’s lerning environment in wtnongknkro school under the primry eductionl service ryong re office 2
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purposes of this research were to study and to compare student’s learning environment in Watnongkankrao School under the Primary Educational Service Rayong Area Office 2, academic year of 2016. The total of 167 student at 4-6 primary students of Watnongkankrao School under the Primary Educational Service Rayong Area Office 2 were selected by stratified random sampling. The research instrument was a five-rating-scale questionnaire with .25 to .97 discrimination power and .92 reliability. The data was analyzed through the use of Mean ( X ), Standard Deviation (SD), t-test, One-way ANOVA and Least Significant Difference (LSD). The results of the study were as follows: 1. Student’s learning environment in Watnongkankrao School under the Primary Educational Service Rayong Area Office 2 was at high level in general and in all aspects. 2. Student’s learning environment according to genders were statistically significantly at .05 level in general and in all aspects. Except friend group society was not different statistically significant. 3. Student’s learning environment in Watnongkankrao School under the Primary Educational Service Rayong Area Office 2 according to students’ levels was not different statistically. Except instruction and learner’s service were statistically significantly at .05 level.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การบริหารการศึกษา
dc.degree.name กศ.ม.
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account