dc.contributor.advisor |
สุเมธ งามกนก |
|
dc.contributor.author |
จิราพร แย้มบาล |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T03:20:16Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T03:20:16Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6779 |
|
dc.description |
งานนิพนธ์ (กศ.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ของครูในจังหวัดชลบุรีในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ด้วยวิธีวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้กรอบแนวคิดและทฤษฎีแรงจูงใจ E.R.G. ของอัลเดอร์เฟอร์ (Alderfer, 1972) ซึ่งได้แบ่งความต้องการออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ ความต้องการการดำรงชีวิต ความต้องการมีสัมพันธภาพ และความต้องการความเจริญก้าวหน้า กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูโรงเรียนมัธยมศึกษาจำนวน 335 คน โดยกำหนดขนาดตัวอย่างจากตารางขนาดของกลุ่มตัวอย่างของเครจซี่ และมอร์แกน (Krejcie & Morgan, 1970) การรวบรวมข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถาม แบบมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ จำนวน 35 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกความยากง่ายรายข้ออยู่ระหว่าง .27 - .75 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูล ประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย (X ̅) ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) การทดสอบค่าที (t - test) การทดสอบค่าเอฟ (F) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One - way ANOVA) และเปรียบเทียบรายคู่โดยใช้วิธีเชฟเฟ่ Scheffe’s method ผลการวิจัย พบว่า 1. แรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ของครูในจังหวัดชลบุรี สังกัดสำนักงานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงจากมากไปหาน้อย 3 อันดับแรก ได้แก่ ความต้องการความสัมพันธภาพ ความต้องการดำรงชีวิต และความต้องการความเจริญก้าวหน้า 2. เปรียบเทียบแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ของครูในจังหวัดชลบุรีในสังกัดสำนักงานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 จำแนกตามเพศ จำแนกตามประสบการณ์ในการทำงาน และขนาดของโรงเรียน โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยทางสถิติที่ระดับ .05 |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
ครูมัธยมศึกษา -- การทำงาน |
|
dc.subject |
แรงจูงใจในการทำงาน |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา |
|
dc.title |
การศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ของครูในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกาามัธยมศึกษา เขต 18 |
|
dc.title.alternative |
Motivtion t work performnce of techers in chonburi province under secondry eductionl service re office chonburi 18 |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The objectives of this research were to study and compare work motivation of teachers in Chonburi province under Secondary Educational Service Area Office 18. This quantitative study followed the E.R.G. theory and framework proposed by Alderfer (1972). The theory divided the needs into 3 categories: Existence, Relatedness and Growth. The sample in this study was 335 secondary school teachers. The number of sample was identified as suggested in the table recommended by Krejcie and Morgan (Krejcie & Morgan, 1970, p. 608). Data collection instrument in this study was a five-point-rating-scale questionnaire asking 35 questions. The questionnaire has its item discriminating power between .27-.75. The reliability of this questionnaire was .95. The statistical methods used in this study were Average (X ̅), Standard Deviation (SD), t-test, F-test, One- way ANOVA and Scheffe's method of multiple comparison test. The research reached the following conclusions: 1. Work motivation of teachers in Chonburi province under Secondary Educational Service Area Office 18 both in general and each aspect was at a high level. The top 3 motivation factors were 1) Relatedness, 2)Existence, and 3) Growth. 2. The comparison of work motivation of teachers in Chonburi province under Secondary Educational Service Area Office 18 as classified by gender, work experience and size of the school both in general and each aspect showed statistical significant difference at 0.05 level. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
การบริหารการศึกษา |
|
dc.degree.name |
กศ.ม. |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|