DSpace Repository

การประเมินโครงการสร้างข้อสอบมาตรฐานวัดความรู้ความสามารถในการคิดขั้นสูงของนักเรียนโรงเรียนในสังกัดเมืองพัทยาโดยบูรณาการรูปแบบการประเมินของเคิร์กแพตทริกและการประเมินอภิมาน

Show simple item record

dc.contributor.advisor สมศักดิ์ ลิลา
dc.contributor.advisor พงศ์เทพ จิระโร
dc.contributor.author คำปั่น ศรีมหาไชย
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:17:58Z
dc.date.available 2023-05-12T03:17:58Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6738
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินโครงการสร้างข้อสอบมาตรฐานวัดความรู้ความสามารถในการคิดขั้นสูงของนักเรียนโรงเรียนในสังกัดเมืองพัทยา โดยบูรณาการรูปแบบการประเมินของเคิร์กแพตทริกและการประเมินอภิมาน โดยมีวัตถุประสงค์เฉพาะ เพื่อประเมินปฏิกิริยาตอบสนอง (Reaction evaluation) การเรียนรู้ (Learning evaluation) พฤติกรรม (Behavior evaluation) ผลลัพธ์ที่เกิดต่อองค์กร (Result evaluation) โครงการตามรูปแบบการประเมินของ เคิร์กแพตทริกและการประเมินอภิมาน กลุ่มตัวอย่างบุคลากรที่เข้าอบรมในโครงการสร้างข้อสอบมาตรฐานวัดความรู้ความสามารถในการคิดขั้นสูงของเมืองพัทยา จำนวน 114 คน เครื่องมือที่ใช้ แบบประเมินโครงการ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติการทดสอบค่าที สถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียรสัน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า ด้านปฏิกิริยาตอบสนองผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ที่ใช้ในการฝึกอบรมเหมาะสมเพียงพอพร้อมทั้งมีความคิดเห็นว่าควรปรับระยะเวลาในการอบรมให้กระชับ ด้านการเรียนรู้ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในความรู้ ความเข้าใจการสร้างข้อสอบมากยิ่งขึ้นเพราะในเนื้อหามีการนำสาระแกนกลางมาใช้ออกข้อสอบในแต่ละตัวชี้วัดด้วย ด้านพฤติกรรมผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนรวมถึงการปฏิบัติงานและมีความเป็นไปได้ว่าข้อสอบที่สร้างมีคุณภาพและสามารถวัดผู้เรียนได้ตรงตามมาตรฐานได้ และสุดท้ายด้านผลลัพธ์ที่เกิดต่อองค์กรผู้เข้าอบรม มีความพึงพอใจในการปฏิรูประบบการทำงานเพื่อนำไปใช้ในการปฏิบัติงานจริงและประโยชน์ที่ได้ ได้รับความรู้ เทคนิค และขั้นตอนการออกข้อสอบซึ่งสามารถนำไปใช้ได้จริง
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject นักเรียน -- การสอบ
dc.subject การสอบ
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา
dc.subject การวัดผลทางการศึกษา
dc.title การประเมินโครงการสร้างข้อสอบมาตรฐานวัดความรู้ความสามารถในการคิดขั้นสูงของนักเรียนโรงเรียนในสังกัดเมืองพัทยาโดยบูรณาการรูปแบบการประเมินของเคิร์กแพตทริกและการประเมินอภิมาน
dc.title.alternative The evlution of higher level thinking evlution of Ptty students by integrting Kirkptrick evlution model of nd met evlution pproch
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The objective of this research was to evaluate the project of creating a standard test to measure the ability of higher level thinking of Pattaya schools students by evaluation model conduct and meta evaluation approach. The specific objective were to the reaction evaluation, learning evaluation, behavior evaluation and the result evaluation by using the integration model of Kirkpatrick and Meta evaluation approach. The sample of this research was 114 trainees who participate in Pattaya Project on developing standard test of the Ability of Higher Thinking. The research instrument was the project evaluation forms. The statistics for data analysis were percentage, the average, standard deviation, t-test, One-way ANOVA and Pearson’s Correlation Coefficient. The result of the study concerning the reaction evaluation was that the trainees were satisfied with the facilities of the training and they suggested that the training period was too long. Whereas the result of the research in learning evaluation, the trainees were satisfied, that they have gained could gain more knowledge and more understanding on the method of creating the test basing on the Basic Education Core Curriculum. The result of the study concerning the behavior evaluation, the trainees reported that they have applied their knowledge from the training into their teaching and it was possible that the standard tests could validly measure the real students’ ability. Finally, the result of the research in the study evaluation, the trainees were satisfied and they believed that the knowledge, the technique and process of test development were applicable.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline วิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา
dc.degree.name วท.ม.
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account