DSpace Repository

ระดับมาตรฐานห้องสมุดมหาวิทยาลัย

Show simple item record

dc.contributor.author วาณี ฐาปนวงศ์ศานติ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:53:00Z
dc.date.available 2019-03-25T08:53:00Z
dc.date.issued 2544
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/667
dc.description.abstract งานวิจัยเรื่อง ระดับมาตรฐานห้องสมุดมหาวิทยาลัย เป็นงานวิจัยเชิงสำรวจ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบมาตรฐานห้องสมุดมหาวิทยาลัยไทย จะได้รับมาตรฐานที่ทบวงมหาวิทยาลัยกำหนดไว้หรือไม่ เพื่อนำปัญหาการดำเนินงานมาวิเคราะห์และเสนอมาตรฐานที่น่าจะเป็นได้ของห้องสมุดมหาวิทยาลัยไทย ขอบเขตของการวิจัย เป็นห้องสมุดมหาวิทยาลัยไทยของรัฐ จำนวน 23 แห่ง โดนมีผู้บริหารห้องสมุดเป็นผู้ตอบแบบสอบถามซึ่งกำหนดมาจากมาตรฐาน 11 ตอน ของมาตรฐานห้องสมุดมหาวิทยาลัย พ.ศ.2529 แบ่งเนื้อหาเป็น 4 ตอน ใช้เวลาเก็บข้อมูล 3 เดือน นำผลมาวิเคราะห์เปรียบเทียบคิดเป็นร้อยละ และใช้สถิติหาค่าเฉลี่ยในการแปลผล ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ 1.มาตรฐานด้านงานบริการและความร่วมมือระหว่างห้องสมุดอยู่ในระดับมาก แต่มาตรฐานด้านการเงินและด้านบุคลากรอยู่ในระดับปานกลาง 2.มาตรฐานงานบริหารห้องสมุดทั้ง 23 แห่ง เฉลี่ยแล้วอยู่ในระดับมากและระดับปานกลาง อย่างละ 10 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 43.48 อีก 3 แห่ง อยู่ในระดับปานกลางเกือบน้อย คิดเป็นร้อยละ 13.04 3.มาตรฐานเชิงปริมาณ ห้องสมุดร้อยละ 50 อยู่ในระดับมาตรฐาน บุคลากรที่มีจำนวนสูงกว่ามาตรฐาน ได้แก่ ตำแหน่งรองผู้อำนวยการ หัวหน้าฝ่ายต่างๆ และบรรณารักษ์วิเคราะห์ทรัพยากร จำนวนทรัพยากรที่สูงกว่ามาตรฐาน คือ หนังสือและวารสารทั้งหมด ส่วนเนื้อที่เก็บหนังสือและวารสารเย็บเล่ม ก็มีมากกว่าระดับมาตรฐาน 4.ข้อเสนอแนะ ห้องสมุดร้อยละ 86.95 ต้องการปรับปรุงงาน ร้อยละ 91.30 ต้องการพัฒนาความรู้ของบุคลากร ห้องสมุดเฉลี่ยร้อยละ 76.64 ต้องการพัฒนาทรัพยากรทุกประเภท ทั้งด้านปริมาณและประเภทของทรัพยากร ร้อยละ 52.17 ต้องการปรับปรุงงบประมาณ และร้อยละ 66.67 สนับสนุนให้มีการดำเนินงานความร่วมมือระหว่างห้องสมุดต่อไป th_TH
dc.description.sponsorship ได้รับทุนสนับสนุนจากงบประมาณเงินรายได้ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 2544 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา - - ไทย th_TH
dc.subject ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา - - มาตรฐาน th_TH
dc.subject สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ th_TH
dc.title ระดับมาตรฐานห้องสมุดมหาวิทยาลัย th_TH
dc.type Research
dc.year 2544
dc.description.abstractalternative A Study of criterion standard of Thai university libraries was a survey research for the purpose of comparison between the standard of Thai university library and the standard set by the ministry of University Affairs. The results of the research brought into analysis and then to propose possible standard of the Thai university library. The scope of this research was to determine the standard of 23 Thai university libraries related to eleven criterion standard of the library B.E. 2529. The four part questionnaires were responded by the library administrators and it took three months in collecting the data. The statistical crevices for analyzing the data were percentage and arithmetic mean. The results were summarized as follows : 1.The service standard and cooperation among libraries were at the high level but the financial and personnel standard were at the moderate level. 2.The administrative standard of 23 libraries were found the each of ten was rated at the high and moderate levels, totally 43.48 percent and another three libraries were at the moderate to less Levels, totally 13.04 percent 3. The qualitative standard about 50 percent were net the standard set by the Ministry of University Affairs. The number of personnel that found higher than the standard were deputy directors, department heads, and analyzed resources librarians or catalogers. The number of resources that found higher than the standard were textbooks and journals. The library spaces for shelf of textbooks and journals were found higher than the standard. 4.The recommendation were the about 86.69 percent of the libraries need to be improved the jobs. The personnel of about 91.30 percent needed to be developed their knowledge About 76.64 percent needed to be developed in quantity and types of resource, 52.17 percent needed to be improved in financial budget and 66.67 percent needed to perform cooperation among libraries. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account