DSpace Repository

ปัจจัยที่มีสัมพันธ์ในการรักษาอย่างต่อเนื่องของผู้ป่วยวัณโรค สถาบันโรคทรวงอก

Show simple item record

dc.contributor.advisor ธรรมวัฒน์ อุปวงษาพัฒน์
dc.contributor.advisor ไพบูลย์ พงษ์แสงพันธ์
dc.contributor.author รติพร คล้ายสุบรรณ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:14:56Z
dc.date.available 2023-05-12T03:14:56Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6660
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ในการรักษาอย่างต่อเนื่องในผู้ป่วยวัณโรคของผู้ป่วยวัณโรคปอด จำนวน 151 คน ในคลินิกวัณโรคสถาบันโรคทรวงอกที่สุ่มเลือกโดยการสุ่มอย่างง่ายเพื่อเป็นตัวแทนของผู้ป่วยวัณโรคปอดทั้งหมด โดยการเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม ซึ่งได้ทำการเก็บข้อมูลในระหว่างเดือนมกราคม-กรกฎาคม 2560 วิเคราะห์ ข้อมูลด้วยสถิติทดสอบไคสแควร์และการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติกส์ผลการวิจัยพบว่า เพศชายมี การขาดการรักษาต่อเนื่องมากกว่าเพศหญิงผู้ป่วยสถานภาพโสดมีความเสี่ยงเสี่ยงต่อการขาดการ รักษาต่อเนื่อง 2.217 เท่า (90%CI of OR =1.099-4.471) เมื่อเทียบกับผู้ป่วยที่มีสถานภาพคู่สำหรับ การประกอบอาชีพ ผู้ป่วยที่มีอาชีพรับจ้างจะลดโอกาสเสี่ยงต่อการขาดการรักษาต่อเนื่อง 66.70% เมื่อเทียบกับผู้ที่ประกอบอาชีพรับราชการ (OR =0.333: 90%CI of OR = 0.125-0.889) ผลการวิจัย สะท้อนว่า ปัจจัยที่สัมพันธ์ในการรักษาวัณโรคในสังคมไทยมีโอกาสขาดการรักษาได้มากโดย พิจารณาจากปัจจัยในตัวผู้ป่วยวัยทำงานจนถึงวัยผู้สูงอายุเกือบทุกอาชีพที่กลับมารักษาวัณโรค ดังนั้นทุกคนควรสร้างทัศนคติที่ดีกับการรักษาวัณโรคในครั้งแรก ลดอคติ ลดการรังเกียจผู้ป่วยวัณโรค และกลับมาเป็นแรงสนับสนุนทางสังคมในการรักษาอย่างต่อเนื่องของผู้ป่วยวัณโรคปอดได้อย่างยั่งยืน
dc.language.iso th
dc.publisher คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject วัณโรค -- ผู้ป่วย
dc.subject วัณโรค
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการสร้างเสริมสุขภาพ
dc.title ปัจจัยที่มีสัมพันธ์ในการรักษาอย่างต่อเนื่องของผู้ป่วยวัณโรค สถาบันโรคทรวงอก
dc.title.alternative Fctor ssocited with regulr tretment of pulmonry tuberculosis ptients t centrl chest institute of thilnd
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This research was a descriptive research witch aimed to study the relationship for continuing care 0f 151 pulmonary tuberculosis patients at the tuberculosis clinic of Central Chest Institute of Thailand by simple random sampling in order to be the representatives of all pulmonary tuberculosis patients. The questionaire was used to get the data from January to July, 2017. The statistic used in data analysis was Model Chi- square and Logistic regression analysis. The findings revealed that the male continued to care less than the female. The factor that related to the continuing care ofpulmonary tuberculosis patients with the significant statistic was the single-medical patients. They were high risk at lacking of continuing care about 2.217 times (OR =90%CI of OR =1.099-4.471) when comparing with the married-medical patients. For the factor of their occupation, the employee-medical patients reduce the risk of noncontinuing care about 66.70% when comparing with the government employee-medical patients (OR =0.333: 90%CI of OR= 0.125-0.889). Moreover, the other results showed the factors relating to the treating of tuberculosis at the Central Chest Institute of Thailand highly risked of non-continuing care by considering with the patient factor from the working-age to the old-age and almost occupations that revisited the tuberculosis. So we should firstly create the positive attitude towards the treating of tuberculosis, reduce prejudice, reduce aversion of tuberculosis patients, and be a social support on continuing care of tuberculosis patients sustainably.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การสร้างเสริมสุขภาพ
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account