dc.contributor.advisor |
นิภา มหารัชพงศ์ |
|
dc.contributor.author |
วัชราภรณ์ เงินปุ่นนาค |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T03:14:55Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T03:14:55Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6653 |
|
dc.description |
งานนิพนธ์ (ส.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 |
|
dc.description.abstract |
บุหรี่เป็นสารเสพติด มีผลกระทบต่อสุขภาพกาย จิตใจ และสังคม จึงควรให้นักเรียนหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ ดังนั้นจึงได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทักษะชีวิตกับพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียน 271 คน สุ่มจากนักเรียนมัธยมต้น โรงเรียนรัฐ ในอำเภอศรีราชา ข้อมูลเก็บด้วยการส่งแบบสอบถามให้นักเรียนตอบในห้องเรียน และวิเคราะห์ด้วย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย พิสัย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และหาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียรสัน ผลการศึกษา พบว่า ส่วนมาก ร้อยละ 55.4 เป็นนักเรียนหญิง อาศัยอยู่กับพ่อแม่ ร้อยละ 91.9 เคยสูบบุหรี่ ร้อยละ 7.7 นักเรียน ร้อยละ 21.4 มีเพื่อนสูบบุหรี่ ร้อยละ 41.0 มีคนในครอบครัวสูบบุหรี่ เฉลี่ย 1.5±1.1 คนต่อครอบครัว นักเรียนมีทักษะชีวิตโดยรวมอยู่ระดับดีมาก ร้อยละ 72.0 พฤติกรรมการหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่อยู่ระดับดีมาก ร้อยละ 74.2 ทักษะชีวิตกับพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ ของนักเรียนมัธยมต้น พบว่า ทักษะชีวิตด้านพุทธิพิสัย ด้านจิตพิสัย ด้านทักษะพิสัย กับพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ มีความสัมพันธ์กันเชิงบวก 0.31, 0.41 และ 0.50 (p < 0.01) ตามลำดับ และทักษะชีวิตโดยรวมกับพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ มีความสัมพันธ์กันเชิงบวก (r = 0.49, p < 0.01) ดังนั้น จึงควรให้ความสำคัญกับการส่งเสริมทักษะชีวิตด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย ทักษะพิสัย และทักษะชีวิตโดยรวมของนักเรียน เพื่อเพิ่มความสามารถหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ของนักเรียน |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ |
|
dc.subject |
การสูบบุหรี่ |
|
dc.subject |
การสูบบุหรี่ -- ชลบุรี |
|
dc.subject |
การสูบบุหรี่ -- พฤติกรรม |
|
dc.title |
ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะชีวิตกับพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ของนักเรียนมัธยมต้นในอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี |
|
dc.title.alternative |
The reltionship between life skills nd smoking viodnce behviors of junior high school studentsin srirch district, chonburi province |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
Tobacco contains addictive substance, caused negative effect on physical, mental and social health. Students should avoid smoking. Then, this study the aimed to investigate the relationship between life skills and avoidance smoking behaviors. Two hundred and seventy-one of junior high school students were randomly sampled from the public schools in Sriracha district, Chonburi province. Administrator questionnaire were used to collect data and students complete the questionnaire in their classrooms. Data were analyzed by percentage, mean, standard deviation and Pearson product-moment correlation coefficient. The results of the study were as follows, the majority of students were female and lived with parent with the percentage of 55.4 and 91.9. Students had smoking (7.7%), friend smoking (21.4%) and family member smoking (41.0%) with the mean of 1.5±1.1 persons/family. Students had a very good level in life skills and smoking avoidance behaviors at the percentage of 72.0 and 74.2, respectively. There were positive relationship between smoking avoidance behaviors and life skills, in both overall life skill (r = 0.49, p < 0.01) and in three domains; cognitive domain (r = 0.31, p < 0.01 ), affective domain (r = 0.41, p < 0.01) and psychomotor domain (r = 0.50, p < 0.01). Accordingly, it should give precedence on the promoting life skills to increase the avoidance smoking behavior in students. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
สาธารณสุขศาสตร์ |
|
dc.degree.name |
สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|