DSpace Repository

การศึกษาความเชื่ออำนาจในตนและนอกตนที่มีต่อการเจ็บป่วยของผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่รับบริการในโรงพยาบาลอรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว

Show simple item record

dc.contributor.advisor บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์
dc.contributor.author บุษยาเนตร วงษ์พล
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:14:55Z
dc.date.available 2023-05-12T03:14:55Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6647
dc.description งานนิพนธ์ (ส.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract เมื่อมีการเจ็บป่วยเกิดขึ้น โดยเฉพาะเจ็บป่วยจากโรคเรื้อรัง ยังมีคนส่วนหนึ่งเชื่อว่ามีอำนาจเหนือตน หรือมีคนอื่นทำให้เจ็บป่วยรวมถึงเชื่อว่าเกิดจากเวรกรรม จึงเป็นปัญหากระทบต่อการดูแลรักษา ดังนั้น การศึกษานี้จึงต้องการศึกษาความเชื่ออำนาจในตนและภายนอกตนของผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีต่อสาเหตุของการเจ็บป่วยกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรังเบาหวานและความดันโลหิตสูง 345 คน ตามทะเบียนรายชื่อผู้ป่วยนัดของโรงพยาบาลอรัญประเทศจังหวัดสระกัว ข้อมูลเก็บด้วยการสัม ภาษณ์แบบมีโครงสร้างและวิเคราะห์ด้วยร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบความเชื่ออำนาจในตนและนอกตน ระหว่างกลุ่มตัวแปรที่ศึกษาด้วย Independent t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและหาความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่ออำนาจในตนและนอกตนด้วยสหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า ผู้ป่วยส่วนมาก (56.8%) เป็นผู้หญิง อายุเฉลี่ย 61.05± 11.77 ปี ไม่ทำงาน (42.9%) ระยะเวลาป่วยเฉลี่ย 7± 4.85 ปี มีโรคแทรกซ้อน (27.8%) เคยพักรักษาใน โรงพยาบาล (24.6%) และเชื่อแพทย์แผนโบราณ (54.8%) ผู้ป่วยเชื่ออำนาจตนเองมากสุดเฉลี่ย ร้อยละ 65.7 เชื่ออำนาจคนอื่นรองลงมาเฉลี่ยร้อยละ 50.7 และเชื่ออำนาจโชคชะตาน้อยสุดเฉลี่ย ร้อยละ 43.1 ผู้ป่วยที่มีอายุป่วยด้วยโรคเรื้อรัง เคยพักรักษาในโรงพยาบาล เชื่อแพทย์แผนโบราณ ต่างกัน มีความเชื่ออำนาจแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติส่วนผู้ป่วยที่มีเพศระยะเวลาการป่วย และมีโรคแทรกซ้อนต่างกัน มีความเชื่ออำนาจไม่แตกต่างกัน ความเชื่ออำนาจตนเองกับความเชื่ออำนาจคนอื่นและความเชื่ออำนาจโชคชะตาสัมพันธ์กันเชิงลบให้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ - 0.588 และ - 0.693 (p < .01) ส่วนความเชื่ออำนาจคนอื่นกับความเชื่ออำนาจโชคชะตาสัมพันธ์กันเชิงบวกให้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ 0.488 (p < .01) ดังนั้น จึงควรทำความเข้าใจให้ผู้ป่วยรู้สาเหตุที่แท้จริงของการป่วยให้มากขึ้น
dc.language.iso th
dc.publisher คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์
dc.subject ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
dc.subject โรคเรื้อรัง -- ผู้ป่วย -- การดูแล
dc.subject โรคเรื้อรัง
dc.title การศึกษาความเชื่ออำนาจในตนและนอกตนที่มีต่อการเจ็บป่วยของผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่รับบริการในโรงพยาบาลอรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว
dc.title.alternative A study of internl nd externl helth locus of control on illness of chronic ptients in rnyprthet hospitl,skeo province
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative When an illness occurs, especiallysick of chronic disease, there are also some people believe, have power over yourself or have someone else get sick, as well as believe fate. It is a problem affecting the care. Therefore, this study wanted to study of internal and external health locus of control of chronic patients on the basis of illness. The sample consisted of 345 chronicpatients with diabetes and hypertension, according to the register list of patients at Aranyaprathet Hospital,Sa Kaeo province. Data were collectedthrough structured interviews, and analyzed by percentage, mean, standard deviation, to be comparison of locus of control between groups of independentvariables by independent t-test and one-way analysis of variance, to determine the relationship between internal and external locus of control with Pearson’s Correlation The results showed that the majority of patients (56.8%) were women with an average age of 61.05± 11.77 yearsold, did not work (42.9%),average duration of illness was 7± 4.85 years, complication(27.8%), ever strayed in hospital (24.6%)and belief in traditional medicine (54.8%). The patients had internal locus of control believes on illness in the most, at 65.7 percent of average score, follow by other locus of control at 50.7 percent of average score, and faith locus of control at 43.1 percent of average score. The patients with age, chronically ill, ever strayed in hospital, belief in traditional medicine, were different, had locus of control significantly different. But patients with sex, duration of illness, and complication were different, had locus of control not different. The internal locus of control, other locus of control and faith locus of control was negative related, given correlation coefficient -0.588 and -0.693 (p < .01), but other and faith locus of control was positive related, given correlation coefficient 0.488 (p < .01). So, the patients should be made aware of the real cause of the illness.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline สาธารณสุขศาสตร์
dc.degree.name สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account