dc.contributor.advisor |
กัญจน์ชญา หงส์เลิศคงสกุล |
|
dc.contributor.author |
พรพิพัฒน์ บุษบารัตน์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T03:12:17Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T03:12:17Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6618 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้ศึกษาสมบัติทางโครงสร้างและทางไฟฟ้าของเส้นใยนาโน ZnO ที่สังเคราะห์ด้วยวิธีการปั่นเส้นใยด้วยไฟฟ้าสถิต เงื่อนไขในการวิจัยนี้คือ (1) อัตราส่วนของ ZnAc:PVA อยู่ในช่วง (2:2)–(6:2) (2) ความต่างศักย์ไฟฟ้าอยู่ในช่วง 16-24 kV (3) ระยะห่างระหว่างปลายเข็มกับแผ่นโลหะรองรับ อยู่ในช่วง 12-15 cm และ (4) อุณหภูมิในการอบอยู่ในช่วง 450-600 ๐ C เส้นใยนาโน ZnO จะถูกนำไปวิเคราะห์สมบัติทางโครงสร้างด้วย SEM และ XRD และวิเคราะห์สมบัติทางไฟฟ้าด้วยเครื่องวัดสภาพต้านทานไฟฟ้าจากการวิเคราะห์ด้วย SEM พบว่า ZnO ที่สังเคราะห์ได้มีความเป็นเส้นใยและมีขนาดอยู่ในระดับนาโนเมตร (120-560 nm) จากการวิเคราะห์ด้วย XRD จะพบพีค 2 ที่31.5 ๐ 34.5 ๐ และ 36.2 ๐ ซึ่งสอดคล้องกับค่ามาตรฐาน JCPDS 36-1451 ของ ZnO ที่ระนาบ (100) (002) และ (101) ตามลำดับ และจากการวิเคราะห์ด้วยเครื่องวัดสภาพต้านทานไฟฟ้า พบว่า ค่าสภาพต้านทานไฟฟ้าของเส้นใยนาโน ZnO อยู่ในช่วง 113-186 Ωm สำหรับเงื่อนไขที่เหมาะสมในการสังเคราะห์เส้นใยนาโน ZnO ที่สุดคืออัตราส่วนของ ZnAc:PVA ที่ (4:2) ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ 20 kV อุณหภูมิที่ 550 ๐ C และระยะห่างระหว่างปลายเข็มกับแผ่นโลหะรองรับที่ 15 cm เนื่องจากเป็นเส้นใยที่มีการแตกหักน้อยไม่เกิดรูพรุน มีความเป็นผลึกที่สูงที่สุด และมีค่าสภาพต้านทานไฟฟ้าที่ต่ำที่สุด |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
เส้นใยนาโน |
|
dc.subject |
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) |
|
dc.subject |
วัสดุโครงสร้างนาโน |
|
dc.subject |
อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาฟิสิกส์ |
|
dc.subject |
การปั่นด้ายด้วยไฟฟ้าสถิต |
|
dc.title |
สมบัติทางโครงสร้างและไฟฟ้าของเส้นใยนาโนซิงค์ออกไซด์ที่ปั่นด้วยวิธีการปั่นเส้นใยด้วยไฟฟ้าสถิต |
|
dc.title.alternative |
Structurl nd electricl properties of zno nnofibers spun by electrospinning method |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
This research studied the structural and electrical properties of ZnO nanofibers spun by electrospinning. The conditionsof this research are (1) ZnAc:PVA ratio is in the range of (2:2)-(6:2) (2)voltage is in the range of 16-24 kV (3) spacing between needle tip and metal supporting plate is in the range of 12-15 cm and (4) temperature annealing is in the range of 450-600 ๐ C. ZnO nanofibers were analyed the structural properties bySEM and XRD and the electrical properties by electrical resistivity testers.SEM analysis showed that synthetic ZnO is fibrous with being in range ofnanometer scale (120-560 nm). XRD analysis showed that 2 peak at 31.5 ๐ 34.5 ๐ and 36.2 ๐ according to the standard JCPDS 36-1451 of ZnO peak plane (100) (002) and (101), respectively. Electrical resistivity testers analysis showed that resistivity is in the range of113-186 Ωm. The optimal conditions is at (4:2) ZnAc:PVA ratio, 20 kV voltage, 550 ๐ C annealing temperature, and 15 cm spacing between needle tip and metal supporting plate due to the fibers showed that the less cracked, non-porous, the highest crystallinity and lowest electrical resistivity. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
ฟิสิกส์ |
|
dc.degree.name |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|