dc.contributor.advisor |
วิชญา กันบัว |
|
dc.contributor.advisor |
อนุกูล บูรณประทีปรัตน์ |
|
dc.contributor.advisor |
ภัทราวุูธ ไทยพิชิตบูรพา |
|
dc.contributor.author |
วีระวรรณ จาดพันธุ์อินทร์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T03:12:14Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T03:12:14Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6611 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
ศึกษาโครงสร้างประชาคมแพลงก์ตอนพืช และแพลงก์ตอนสัตว์ในแม่น้ำบางปะกง เขตจังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน 6 สถานี ทั้งหมด 6 ครั้ง ในเดือน เมษายน, กรกฎาคม, กันยายน, พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 เดือนกุมภาพันธ์ และเดือนเมษายน พ.ศ. 2560 โดยใช้กรองผ่านถุงกรอง แพลงก์ตอนขนาดช่องตา 20 และ 200 ไมโครเมตร ตามลำดับ พบแพลงก์ตอนพืชทั้งหมด 3 ดิวิชั่น 6 กลุ่ม ไดอะตอม, สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน, ไดโนแฟลกเจลเลต, สาหร่ายสีเขียว, ยูกลีนอยด์ และซิลิโคแฟลกเจลเลต มีความหนาแน่นรวมอยู่ในช่วง 27,908-91,049 เซลล์ต่อลิตร กลุ่มไดอะตอม เป็นองค์ประกอบหลักในทุกเดือนที่ทำการศึกษา ยกเว้นในเดือนเมษายน พ.ศ. 2560 ที่พบสาหร่าย สีเขียวแกมน้ำเงินเป็นองค์ประกอบหลัก แพลงก์ตอนพืชที่พบเป็นสกุลเด่นคือ Thalassiosira, Cyclotella, Oscillatoria, Entomoneis และ Coscinodiscus ตามลำดับ ส่วนแพลงก์ตอนสัตว์พบ ทั้งหมด 9 ไฟลัม 26 กลุ่ม ได้แก่ Foram, Rotifer, Hydrozoa larvae, Nematode, Polycheate larvae, Arrow Worms, Cladocera, Isopod, Ostracod, Amphipod, Copepod, Nauplius, Mysid, Euphausid, Shrimp, Zoea, Megalopa, Lucifer, Alima larvae, Cirripedia, Cumacea, Bivalve larvae, Oikopleura, Gastropod larvae, Fish egg และ Fish larvae มีความหนาแน่นรวมอยู่ในช่วง 407-2,832 ตัวต่อลูกบาศก์เมตรกลุ่ม Copepod เป็นองค์ประกอบหลักในทุกเดือนที่ทำการศึกษาแพลงก์ตอน สัตว์ที่พบเป็นกลุ่มเด่นคือ Copepod, Nauplius, Polycheate larvae, Cirripedia และ Zoea ตามลำดับ การเปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดล้อมส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างแพลงก์ตอนในแม่น้ำบางปะกงโดยค่าความเค็มเป็นปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของแพลงก์ตอนความหลากหลายของแพลงก์ตอนที่พบ แสดงให้เห็นถึงความอุดมสมบูรณ์ของแม่น้ำบางปะกงอยู่ในเกณฑ์ปานกลางเมื่อพิจารณาความอุดมสมบูรณ์ร่วมกับคุณภาพน้ำในแม่น้ำบางปะกง ซึ่งจัดอยู่ในมาตรฐานคุณภาพน้ำ ประเภทที่ 3 เกณฑ์พอใช้เป็นแหล่งน้ำที่ได้รับน้ำทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท และเหมาะสมสำหรับการเกษตรการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำนั้น แสดงว่า ปัจจุบันแม่น้ำบางปะกงมีสภาพแวดล้อมโดยรวมอยู่ในระดับปานกลางจึงควรเฝ้าระวังมีการวางแผนเพื่อจัดการสภาพแวดล้อมให้ดีกว่าเดิม |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
แพลงก์ตอน |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวาริชศาสตร์ |
|
dc.subject |
แพลงก์ตอนสัตว์ |
|
dc.subject |
แพลงก์ตอนพืช |
|
dc.title |
โครงสร้างประชาคมแพลงก์ตอนในแม่น้ำบางปะกง ปี พ.ศ. 2559-2560 |
|
dc.title.alternative |
Plnkton community structure in the bngpkong river in 2016-2017 |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The phytoplankton and zooplankton community structures in the Bangpakong River were investigated in April, July, September and November 2016, February and April 2017 Samples were collected from six stations using plankton net mesh size 20 and 200 micrometers, In total three Division 6groupswere recorded, namely:Diatom, Blue green algae, Dinoflagellate, Green algae, Euglenoids and Silicoflagellate. Total densities ranged between 27,908-91,049 Cell.l -1 . The diatoms were dominant group in all four studied months excluding in April2017, Blue green algae were dominant group. Thalassiosira, Cyclotella, Oscillatoria, Entomoneis and Coscinodiscus were the dominant species. The study on zooplankton community revealed 26 groups belonging to nine phyla. were recorded, namely: Foram, Rotifer, Hydrozoa larvae, Nematode, Polycheate larvae, Arrow Worms, Cladocera, Isopod, Ostracod, Amphipod, Copepod, Nauplius, Mysid, Euphausid, Shrimp, Zoea, Megalopa, Lucifer, Alima larvae, Cirripedia, Cumacea, Bivalve larvae, Oikopleura, Gastropod larvae, Fish egg andFish larvae. Total densities ranged between 407-2,832 individuals.m 3 . Copepoda was the dominant group in all six studied months. Copepod, Nauplius, Polycheate, Cirripedia and Zoea were the dominant groups. Environmental changes affect plankton structural changes in the Bangpakong River. Salinity is the main factor affecting the composition and a variety of plankton. The abundance of the Bangpakong river was moderate. When considering abundance with water quality in Bang pakong River This is classified in the water quality standard Category 3. Water is the source of wastewater from some activities. And suitable for agriculture, aquaculture.Show that the river has the overall environment is moderate.Should be monitored, planning to better manage the environment. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
วาริชศาสตร์ |
|
dc.degree.name |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|