DSpace Repository

ความสัมพันธ์ระหว่างปลาแนวปะการังกับโครงสร้างชุมชนปะการังบริเวณหมู่เกาะแสมสาร อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.advisor วิภูษิต มัณฑะจิตร
dc.contributor.advisor นงนุช ตั้งเกริกโอฬาร
dc.contributor.author อศลย์ มีนาภา
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:09:00Z
dc.date.available 2023-05-12T03:09:00Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6600
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปลาแนวปะการังกับโครงสร้างชุมชนปะการัง บริเวณหมู่ เกาะแสมสาร อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ระหว่างเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2558 ถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2559 ทำการเก็บข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างปลาแนวปะการังกับโครงสร้างชุมชนปะการัง จำนวน 3 ครั้ง คือเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2558 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2558 และเดือนเมษายน พ.ศ. 2559โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปลาแนวปะการังกับโครงสร้างถิ่นที่อยู่อาศัยบนชุมชนปะการังจากการศึกษาพบว่า ปลาแนวปะการังมีความสัมพันธ์กับถิ่นที่อยู่อาศัยบนแนวปะการัง เมื่อพิจารณาถึงความชุกชุมและความหลากชนิดของปลาแนวปะการังที่เปลี่ยนไปตามโครงสร้างชุมชน บนแนวปะการัง พบว่า อัตราการปกคลุมของปะการังมีชีวิต และปะการังตาย สามารถใช้ในการทำนายการเปลี่ยนแปลงของประชาคมปลาแนวปะการังได้ชัดเจนมากกว่า เมื่อเทียบกับความสัมพันธ์ระหว่างชนิดของปลาและปะการังอย่างไรก็ตาม โครงสร้างชุมชนปะการัง เป็นเพียงหนึ่งในหลายปัจจัยที่ส่งผลต่อต่อประชาคมปลาในแนวปะการังจากการศึกษาครั้งนี้พบว่า ปลาแนวปะการังมีความสัมพันธ์กับถิ่นที่อยู่อาศัยบนแนวปะการังการที่แนวปะการังมีการเปลี่ยนแปลงส่งผลทำให้ประชาคมปลา มีการเปลี่ยนแปลงด้วย ทั้งนี้แนวทางในการอนุรักษ์ฟื้นฟูแนวปะการังควรคำนึงถึงการเพิ่มอัตราการปกคลุมของปะการังมีชีวิต และมีความหลากหลายของรูปทรงปะการังควบคู่กันไป เนื่องจากการเพิ่มพื้นที่ปกคลุมของปะการังมีชีวิตและเพิ่มความหลากหลายของรูปทรงปะการังเป็นการเพิ่มความหลากหลายของถิ่นที่อยู่อาศัย จึงส่งผลทำให้ความชุกชุมและความหลากชนิดของปลาแนวปะการังเพิ่มขึ้นเช่นเดียวกัน
dc.language.iso th
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวาริชศาสตร์
dc.subject ปลาแนวปะการัง
dc.subject แนวปะการัง -- ชลบุรี
dc.subject แนวปะการัง
dc.subject ปลาแนวปะการัง -- เกาะแสมสาร (ชลบุรี)
dc.title ความสัมพันธ์ระหว่างปลาแนวปะการังกับโครงสร้างชุมชนปะการังบริเวณหมู่เกาะแสมสาร อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี
dc.title.alternative Reltionship between corl reef fish nd community structure of corl reefs t smesrn islnds, chon buri province
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The relationship between coral reef fishes and the community structure of coral reefs at Samaesarn Islands, Sattahip, Chon Buri Province, during May 2015 to April 2016, was investigated 3 time, May 2015, October 2015 and April 2016, aim to detect the relationship between coral reef fishes and the community structure of coral reefs. Based on this study, changes in the coral community structure relate to changes in the fish community. The coral reef fish community has changed consistently, revealing the dynamic nature of the relationship. Richness and diversityof coral reef fish that have changed according to the coral reef community structure, it is the best way to understand on a large scale of coral reef fish community. The relationship between coral reef fish with percentage of living coral cover and dead coral in coral reefs clearly predict characteristics of the coral reef fish community significantly better than the relationship between species of fish and coral. However, the coral reef communitystructure is one of many factors related to changes in communities of coral reef fish. In addition, conservation and restoration of coral reefs in the future must considerably increase the percentage of living coral and the variety of coral growth forms. An increased percentage of coral cover and variety of coral growth forms will increase the abundance and diversity of coral reef fish.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline วาริชศาสตร์
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account