DSpace Repository

ผลกระทบของรูปแบบการจัดการความขัดแย้งต่อพฤติกรรมเชิงนวัตกรรมผ่านความไว้วางใจ ความผูกพัน พฤติกรรมการจัดการความรู้

Show simple item record

dc.contributor.advisor อดิศักดิ์ จันทรประภาเลิศ
dc.contributor.advisor บรรพต วิรุณราช
dc.contributor.author สุธนี บิณฑสันต์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:08:59Z
dc.date.available 2023-05-12T03:08:59Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6595
dc.description ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีคําถามวิจัย คือ อะไรเป็นปัจจัยที่เชื่อมโยงที่ทําให้การจัดการความขัดแย้งส่งผลต่อพฤติกรรมเชิงนวัตกรรมใช้การวิจัยเชิงปริมาณด้วยการวิเคราะห์สมการเชิงโครงสร้าง กลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงานธนาคารกรุงเทพ ธนาคารเกียรตินาคิน ธนาคารกรุงไทย ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ธนาคารออมสิน สังกัดสํานักงานใหญ่ จํานวน 557 ตัวอย่าง โดยการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน ผลการศึกษาด้วยตัวแบบสมการเชิงโครงสร้างพบว่า ค่าดัชนีความกลมกลืนของตัวแบบที่ผ่านเกณฑ์ เป็นดังนี้  2 = 515.074, df = 146, CFI=0.961, TLI=0.950, RMSEA =0.067, SRMR =0.050 และผลของความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการจัดการความรู้ส่งผลเชิงบวกต่อพฤติกรรมเชิง นวัตกรรม และความไว้วางใจและความผูกพันส่งผลเชิงบวกต่อพฤติกรรมการจัดการความรู้ สําหรับการจัดการความขัดแย้งส่งผลเชิงบวกต่อความไว้วางใจและความผูกพัน
dc.language.iso th
dc.publisher วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาไทยศึกษา
dc.subject ความขัดแย้ง
dc.subject ความขัดแย้งระหว่างบุคคล
dc.subject วิทยานิพนธ์ ?aปริญญาเอก
dc.title ผลกระทบของรูปแบบการจัดการความขัดแย้งต่อพฤติกรรมเชิงนวัตกรรมผ่านความไว้วางใจ ความผูกพัน พฤติกรรมการจัดการความรู้
dc.title.alternative Impct of conflict mngement styles to innovtionl behvior through trust, commitment nd knowledge mngement behvior
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The research question catered in this study is the factors linking the conflict management styles and innovative behavior. This research used quantitative methodology using structural equation model analysis. The samples size consisted of 557 employees from the Bangkok Bank Public Company Limited, Kiatnakin Bank Public Company Limited, Krung Thai Bank Public Company Limited, Government Savings Bank and Bank of Agriculture and Agricultural Cooperatives by using multi-stage sampling. The research found that the structural equation model has the goodness of fit indexes as the following;  2 = 515.074, df = 146, CFI=0.961, TLI=0.950, RMSEA =0.067, SRMR =0.050 and also there were positive linkages between knowledge management behavior and innovative behavior; trust and knowledge management behavior as well as commitment and knowledge management behavior. There were also positive linkages between conflict management and trust as well as commitment-
dc.degree.level ปริญญาเอก
dc.degree.discipline ไทยศึกษา
dc.degree.name ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account