dc.contributor.advisor |
กนก พานทอง |
|
dc.contributor.advisor |
ภัทราวดี มากมี |
|
dc.contributor.author |
พัชรา สิริวัฒนเกตุ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T03:08:57Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T03:08:57Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6585 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโปรแกรมการฝึกทักษะทางปัญญาอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับการเพิ่มความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ และเพื่อเปรียบเทียบผลของโปรแกรมโดยพิจารณา จากคะแนนความสามารถด้านมิติสัมพันธ์หลังใช้โปรแกรม ใช้แบบแผนการทดลองแบบ Pretest and Posttest Control Group Design โปรแกรมเป็นการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมแบบกลุ่มแลกเปลี่ยน ความคิด โดยใช้กระบวนการ 3 ขั้นตอน ได้แก่ การสะท้อนความคิด (Reflect) การเชื่อมโยง (Connect) และการประยุกต์ใช้ (Apply) กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนอาชีวศึกษาสาขาวิชาช่างอุตสาหกรรม ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี. เทค) จังหวัดชลบุรี จำนวน 2 ห้องเรียน ห้องเรียนละ 45 คน ได้มาจากการสุ่มแบบแบ่งกลุ่มแบบขั้นตอนเดียว แบ่งเป็นกลุ่ม ทดลองและกลุ่มควบคุม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ โปรแกรมการฝึกทักษะทางปัญญาอย่างมี วิจารณญาณ และแบบทดสอบความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพื้นฐาน และ สถิติทดสอบที ผลการวิจัยปรากฏว่า 1. โปรแกรมการฝึกทักษะทางปัญญาอย่างมีวิจารณญาณ มีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด ในการเพิ่มความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของนักเรียนอาชีวศึกษา 2. คะแนนความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ในกลุ่มทดลองหลังได้รับการฝึกด้วยโปรแกรม การฝึกทักษะทางปัญญาอย่างมีวิจารณญาณ สูงกว่าก่อนได้รับการฝึก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 3. คะแนนความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ในกลุ่มทดลองหลังได้รับการฝึกด้วยโปรแกรม การฝึกทักษะทางปัญญาอย่างมีวิจารณญาณสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
นักเรียนอาชีวศึกษา |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา |
|
dc.subject |
มิติสัมพันธ์ |
|
dc.title |
การเพิ่มความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของนักเรียนอาชีวศึกษาโดยใช้โปรแกรมการฝึกทักษะทางปัญญาอย่างมีวิจารณญาณ |
|
dc.title.alternative |
Enhncing the sptil bility of voctionl students using criticl cognitive skills trining progrm |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The objectives of this research were to develop a critical cognitive training program for enhancing spatial ability, and to assess its effectiveness by examining scores on tests of spatial ability administered after training. Pretest and posttest control group design was used in this study. The program consisted of the learning through group activities and involved three steps: reflect, connect, and apply. The samples comprised 90 vocational students from two classrooms, 45 students from each, from the department of Mechanical Technology, Eastern College of Technology, Chonburi Province. The participants were selected by using single stage cluster sampling and were then assigned to experimental and control groups. The research instruments were a critical cognitive skills training program and spatial ability testing. Data were analyzed by using descriptive statistics and t-test. The results were as follows: 1. The cognitive training program was judged suitable for enhancing the spatial ability of vocational students. 2. The average scores of spatial ability in the experimental group after training with the developed program were statistical significantly higher than before training (p< .05). 3. The average scores of spatial ability in the experimental group were statistically significantly higher than the control group (p< .05). |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
การวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา |
|
dc.degree.name |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|