dc.contributor.advisor |
อุบล ธเนศชัยคุปต์ |
|
dc.contributor.author |
ชนัญชิดา เรืองจรูญ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T03:08:53Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T03:08:53Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6570 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 |
|
dc.description.abstract |
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ใช้ทฤษฎีโครงสร้างนิทานพื้นบ้านของวลาดิมีร์ พร็อพพ์ เป็นเครื่องมือพื้นฐานในการวิเคราะห์โครงสร้างของการเล่าเรื่อง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์และเปรียบเทียบโครงสร้างและพฤติกรรมของตัวละครในนิทานมหัศจรรย์ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการบรรยายการคัดเลือกนิทานแบบเฉพาะเจาะจงมีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมนิทานมหัศจรรย์ไทยและนิทานมหัศจรรย์ต่างประเทศ จํานวน 20 เรื่อง โดยวิธีการในการเก็บรวบรวมข้อมูลทําได้โดยการวิเคราะห์นิทานมหัศจรรย์ทั้งหมด ผลการวิเคราะห์ทั้งหมดแสดงให้เห็นว่า นิทานมหัศจรรย์ไทยและนิทานมหัศจรรย์ต่างประเทศมีความแตกต่างในด้านโครงสร้างพื้นฐาน ลักษณะการผสมผสานของการเดินเรื่องและพฤติกรรมของตัวละครในรูปแบบต่าง ๆ กัน นอกจากนี้การวิเคราะห์นิทานมหัศจรรย์ไทยของไทยยังช่วยให้ได้เรียนรู้เกี่ยวกับความเป็นสากล และอัตลักษณ์ของนิทานพื้นบ้าน รวมถึงทําให้เข้าใจวิธีการเล่าเรื่องของนิทานมหัศจรรย์ไทย เช่นเดียวกับในนิทานมหัศจรรย์ต่างประเทศ ท้ายที่สุดวิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการระบุถึงวิธี การศึกษาโครงสร้างพื้นฐาน โครงสร้างลักษณะการผสมผสานของการเดินเรื่องและพฤติกรรมของตัวละคร |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
นิทานพื้นบ้าน |
|
dc.subject |
นิทาน |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร |
|
dc.title |
การเปรียบเทียบนิทานมหัศจรรย์ไทยและนิทานมหัศจรรย์ต่างประเทศตามกรอบทฤษฎีโครงสร้างนิทานพื้นบ้านของวลาดิมีร์ พร็อพพ์ |
|
dc.title.alternative |
A comprison of thi nd foreign firy tles bsed on vldimir propp’s morphology of the folktle |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
This thesis applies Vladimir Propp’s Morphology of the Folktale which is considered to be one of the fundamental tools to analyze narrative structure of fairy tales. The purpose of this thesis is to analyze and compare the structure and the functions in the fairy tales. This study is used a qualitative research with a descriptive approach. Purposive sampling is applied to select 20 most famous Thai and foreign fairy tales. For analysis the results of the total analysis shows that all Thai and foreign fairy tales are different in fundamental structures, combinations of moves, and functions in different types. Moreover, the analysis reveals the universality in Thai folktales with special identities directed by culture moves of Thai fairy tales which resemble those of foreign fairy tales. This thesis also identifies the methods for study of both structures and functions are discussed. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร |
|
dc.degree.name |
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|