dc.contributor.advisor |
สมบูรณ์ เจตน์จำลอง |
|
dc.contributor.author |
โสพิศลดา แสงตระการกิจ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T03:08:48Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T03:08:48Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6563 |
|
dc.description |
งานนิพนธ์ (ศศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อวิเคราะห์กลวิธีการแปลสา นวนภาษาอังกฤษเป็น ภาษาไทย และเพื่อจัดประเภทสา นวนภาษาอังกฤษที่ปรากฏในบทบรรยายภาพยนตร์เรื่อง The Social Network โดยยึดตามแนวคิดด้านกลวิธีการแปลสานวนของ Baker (2005) ได้สานวน จานวน 90 สานวน ผลการวิจัยพบการใช้กลวิธีการแปลสานวนแบบถอดความมากที่สุด (ร้อยละ 54.44) ตามด้วย กลวิธีการแปลแบบตรงตัว (ร้อยละ 37.78) กลวิธีการแปลแบบละความ (ร้อยละ 4.44) และ พบการใช้กลวิธีการแปลแบบสานวนเทียบเคียง (ร้อยละ 3.33) สาหรับการจัดประเภทของสานวน พบสานวนประเภทกริยาวลีมากที่สุด (ร้อยละ 56.67) ตามด้วย สานวนกริยา (ร้อยละ 13.33) สานวนที่ประกอบด้วยคาสาคัญชนิดต่าง ๆ (ร้อยละ 11.11) สานวนที่มีคาสาคัญในหมวดหมู่เฉพาะ เรื่อง (ร้อยละ 6.67) สา นวนที่ขึ้นต้นด้วยคา บุพบท (ร้อยละ 5.56) สา นวนที่ใช้คา เป็นคู่ (ร้อยละ 3.33) สา นวนที่มีคา นามและคา คุณศัพท์ (ร้อยละ 2.22) และประเภทของสา นวนที่พบน้อยที่สุดคือสา นวน ในหัวข้อเฉพาะทาง (ร้อยละ 1.11) |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
ภาษาอังกฤษ -- การแปล |
|
dc.subject |
การแปล |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร |
|
dc.title |
กลวิธีการแปลสำนวนในบทบรรยายภาพยนตร์ภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย กรณีศึกษาเรื่อง The social network |
|
dc.title.alternative |
The trnsltion strtegies of english idioms into thi in cse study of the socil network subtitles |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The purposes of this study were to examine translation strategies of English idioms and to classify device of each idiom appeared in The Social Network subtitles. The sample used in this research consisted of 90 idioms. The results were presented in percentage and example of analytical description. The finding indicated that the strategies used in the translated work of English idioms in The Social Network subtitles were translation by paraphrase (54.44%) translation by using an idiom of similar meaning and form (37.78%) translation by omission (4.44%) and translation by using an idiom of similar meaning but dissimilar form (3.33%). In addition, the result revealed that there were 8 devices of idioms appeared in the subtitles: Phrasal verbs (56.67%) verbal Idioms (13.33%) key words with idiomatic uses (11.11%) idioms with key words from special categories (6.67%) idioms with prepositions (5.56%) idiomatic pairs (3.33%) idioms with nouns and adjectives (2.22%) and idioms from special subjects (1.11%). |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร |
|
dc.degree.name |
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|