dc.contributor.advisor |
เอกวิทย์ มณีธร |
|
dc.contributor.author |
หยุน, มินจอง |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
Yun, Minjeong |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T03:01:50Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T03:01:50Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6556 |
|
dc.description |
งานนิพนธ์ (ร.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้ศึกษาถึงสภาพปัญหาการค้าประเวณีของหญิงไทยในสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) และกระบวนการปฏิบัติงานของหน่วยงานภาครัฐและแสวงหาแนวทางในการป้องกันและปราบปรามปัญหาการค้าประเวณีของหญิงไทยในสาธารณรัฐเกาหลี โดยสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับปัญหาดังกล่าว ประกอบด้วยทั้งหมด 16 คน จากหน่วยงาน 7 แห่งจากทั้งประเทศไทยกับสาธารณรัฐเกาหลี ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยดึงดูดที่ทําให้ผู้หญิงไทยตัดสินใจเดินทางเข้าไปยังสาธารณรัฐเกาหลีโดยใช้ประโยชน์จากการยกเว้นการตรวจลงตราคือ ความต้องการด้านเศรษฐกิจ นายหน้า หรือผู้ชักชวนอ้างว่าจะเป็นพนักงานร้านนวดแผนไทยที่เกาหลีพอถึงเกาหลีแล้วเป็นการบังคับให้ค้าประเวณี แต่ปัจจุบันนี้ส่วนใหญ่เป็นรูปแบบสมัครใจลักลอบค้าประเวณีเนื่องจากปัจจัยด้านเศรษฐกิจ โดยสังคมออนไลน์เป็นช่องทางหลักที่นําผู้หญิงไทยสู่ธุรกิจทางเพศที่เกาหลีได้ สําหรับรูปแบบการค้าประเวณีที่ผู้หญิงไทยทํางานโดยส่วนใหญ่เป็นร้านนวดแผนไทยที่แอบค้าประเวณี โดยทําการนวดและความสัมพันธ์ทางเพศ นอกจากนี้ นอกจากนี้มีธุรกิจแบบใหม่ เช่น นางทางโทรศัพท์ ห้องคอนโดก็รับผู้หญิงไทยให้ค้าประเวณี กระบวนการปฏิบัติงานของหน่วยงานภาครัฐพบว่า ผู้ที่ถูกส่งกลับเนื่องจากการถูกปฏิเสธที่ด้านหรือการถูกจับกุมจากตํารวจหรือตรวจคนเข้าเมืองเกาหลีใต้ต้องผ่านสอบปากคําของฝ่ายพิธีการเข้าเมืองของสํานักงานตรวจคนเข้าเมืองของประเทศไทย ส่วนกองการต่างประเทศของสํานักงานตํารวจแห่งชาติไทยซึ่งรับแจ้งความคดีการบังคับให้ค้าประเวณีที่เกาหลีประสานความร่วมมือกับตํารวจเกาหลีใต้ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์สัมภาษณ์ตรวจร่างกายเพื่อคัดกรองเหยื่อจริงเนื่องจากมีคนที่อ้างเป็นเหยื่ออยากกลับผ่านช่องทางเหยื่อค้ามนุษย์ จากผลการวิจัยพบเกี่ยวกับแนวทางในการป้องกันและปราบปรามปัญหาทั้งหมด 5 วิธีการ ได้แก่ 1. ความร่วมมือระหว่างประเทศไทยกับสาธารณรัฐเกาหลี 2. ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับสภาพปัญหา 3. การตรวจคนเข้าเมืองของสาธารณรัฐเกาหลีอย่างเข้มงวด 4. การปรับปรุงความตกลงการยกเว้นการตรวจลงตรา 5. การเปิดโอกาสที่ส่งแรงงานไทยไปสู่ร้านนวดแผนไทยในสาธารณรัฐเกาหลีอย่างถูกกฎหมาย |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรเพื่อความมั่นคง |
|
dc.subject |
การค้าประเวณี |
|
dc.title |
ปัญหาการค้าประเวณีของหญิงไทยในสาธารณรัฐเกาหลี |
|
dc.title.alternative |
The socil issue of thi women’s prostitution in republic of kore |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
This research aims 1. to study the problem of prostitution of Thai women in Republic
of Korea (South Korea), 2. to learn the management of the governmental organizations in dealing
with the problem, and 3. to explore prevention for Thai women prostitution in Republic of Korea.
The information was gained from in-depth interviews done to 16 governmental workers in 7 Thai
and Korean organizations.
The findings show that Thai women who have decided to commit prostitution in South
Korea take advantage from visa exemption. In the past, the purposes for committing prostitute
were financial problem and seduction of agents convincing them to go to work in Thai massage
houses but then forcing them to become prostitutes. Currently, the situation has changed. Thai
prostitutes are willing to commit prostitution and they smuggle do this in Thai massage houses.
The channel contact is the internet. It was also found that Thai prostitutes in Korea do prostitution
through telephone; moreover, some apartments are opened for Thai prostitutes to commit this
illegal business.
The study of the management of government organizations shows that Thai women
who are repatriated, who are arrested by the police, or who are detained by Korean immigration
officer are required to be interrogated by Thai immigration officer before allowing to travel to
Korea. In addition, Foreign Affairs Division, Royal Thai Police works cooperatively with Korean
police in dealing with the problem of prostitution. Ministry of Social Development and Human
Security of Thailand send those Thai women who inform their innocence and/or victimization for
interview and physical examination to screen for real innocent victims from those who want to be
repatriated with innocence approval.
The prevention for this problem should be strengthened through 1. Thailand-Korea
cooperation, 2. problem publication, 3. strict process of Korean immigration office, 4. revision of
visa exemption agreement, and 5. opportunity for Thai masseurs to work in Korea legally. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
การจัดการทรัพยากรเพื่อความมั่นคง |
|
dc.degree.name |
รัฐศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|