DSpace Repository

ภาพลักษณ์ของพยาบาลตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการที่แผนกผู้ป่วยนอก

Show simple item record

dc.contributor.advisor สหัทยา รัตนจรณะ
dc.contributor.advisor นุจรี ไชยมงคล
dc.contributor.author อรนุช อักษรดี
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:01:39Z
dc.date.available 2023-05-12T03:01:39Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6503
dc.description วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract ภาพลักษณ์ของพยาบาลเป็นสิ่งแรกที่ผู้ใช้บริการได้รับรู้เมื่อมาโรงพยาบาลและต้องติดต่อกับพยาบาลโดยเฉพาะอย่างยิ่งที่แผนกผู้ป่วยนอกที่เป็นด่านหน้าของการพบกันระหว่างผู้ใช้บริการกับพยาบาลการวิจัยแบบบรรยายเชิงเปรียบเทียบครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบภาพลักษณ์ของพยาบาลที่เป็นจริงกับในอุดมคติตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการแผนกผู้ป่วยนอกและเปรียบเทียบภาพลักษณ์ของพยาบาลตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการตามความแตกต่างของข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ใช้บริการที่แผนกผู้ป่วยนอกในโรงพยาบาลราชวิถี กรุงเทพมหานครในปี พ.ศ. 2559 จำนวน 320 คน คัดเลือกด้วยการสุ่มแบบหลายเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปแบบสอบถามการรับรู้ภาพลักษณ์ของพยาบาลที่เป็นจริงและแบบสอบถามการรับรู้ภาพลักษณ์ของพยาบาลในอุดมคติมีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .84 และ .92 ตามลำดับ วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา การทดสอบทีและการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า คะแนนการรับรู้ภาพลักษณ์ของพยาบาลในอุดมคติสูงกว่าการรับรู้ที่เป็นจริง (t= -8.92, p .01) ผู้ใช้บริการที่มีการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือมากกว่ามีการรับรู้ภาพลักษณ์ของพยาบาลในอุดมคติสูงกว่าผู้ที่มีการศึกษาระดับอนุปริญญา/ ปวส. และมัธยมปลาย/ ปวช. (F= 3.09, p< .05) และผู้ที่มาใช้บริการครั้งที่ 4 ขึ้นไปมีการรับรู้ภาพลักษณ์ของพยาบาลในอุดมคติสูงกว่าผู้ที่มาใช้บริการครั้งที่ 2 (F= 4.56, p> .01) นอกจากนี้ไม่พบความแตกต่าง ผลการวิจัยนี้ให้ข้อเสนอแนะว่า ผู้บริหารการพยาบาลควรกำหนดนโยบายหรือมาตรการให้พยาบาลปฏิบัติและแสดงภาพลักษณ์ที่เหมาะสมตลอดเวลา เพื่อให้ผู้ใช้บริการและประชาชนทั่วไปมีการรับรู้ภาพลักษณ์ของพยาบาลในทางที่ดีมากที่สุด นอกจากนี้ควรจัดกิจกรรมส่งเสริมการรับรู้ภาพลักษณ์ของพยาบาลทางบวกโดยเฉพาะในกลุ่มผู้ใช้บริการที่เป็นเพศชายระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีและผู้ใช้บริการรายใหม่
dc.language.iso th
dc.publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการพยาบาล
dc.subject ผู้ป่วยนอก -- การดูแล
dc.subject พยาบาล -- การทำงาน
dc.title ภาพลักษณ์ของพยาบาลตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการที่แผนกผู้ป่วยนอก
dc.title.alternative The imge of nurse s perceived by clients t the out ptient deprtments
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The image of nurse is the first impression perceived by the clients when they visit the hospital and make contact with nurses, especially at the Out Patient Department (OPD). Since, it is the frontline gate where the clients meet nurses. This descriptive comparative study aimed to compare the actual and ideal images of nurses as perceived by clients at the OPD and compare perceived mages of nurses with the difference of the clients’ characteristics. A multi-stage random sampling was used to recruit a sample of 320 clients using services at the OPD of Rajavithi hospital, Bangkok in 2016. Research instruments included a demographic questionnaire, the perception of the actual image of nurses questionnaire, and the perception of the ideal image of nurses questionnaire. Their reliabilities were .84 and .92, respectively. Descriptive statistics, t-test and one-way ANOVA were used to analyze the data. The results revealed that the participants had scores of perceived ideal image of nurses higher than those of perceived actual image of nurses (t= -8.92, p .01). The clients with a Bachelor degree or higher had a score of perceived ideal image of nurses higher than those with college or diploma education (F= 3.09, p< .05). The clients who used the hospital services 4 times or more perceived the ideal image of nurses higher than those who used the services only 2 times (F= 4.56, p> .01). Other than these, the differences were not found. These findings suggest that nurse administrators should set a policy or regulation for nurses to suitably perform and present their proper images at all time. It would make clients and general population have the best perceived image of nurses. In addition, activities that promote positive images of nurse perception should be implemented, especially in groups of males, having lower education than bachelor degree and new clients.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การบริหารการพยาบาล
dc.degree.name พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account