DSpace Repository

อิทธิพลของพื้นอารมณ์ที่มีต่อพฤติกรรมการรับประทานอาหารในเด็กวัยเรียน

Show simple item record

dc.contributor.advisor นุจรี ไชยมงคล
dc.contributor.advisor ยุนี พงศ์จตุรวิทย์
dc.contributor.author ศุจิกา รัษฎาเพ็ชร
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T02:51:31Z
dc.date.available 2023-05-12T02:51:31Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6496
dc.description วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)-- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract เด็กวัยเรียนเป็นวัยที่การมีพัฒนาการทางร่างกายและสติปัญญาในระดับที่สามารถดูแลตัวเองคิดตัดสินใจเลือกซื้อและเลือกรับประทานอาหารได้เองการวิจัยแบบทำนายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของพื้นอารมณ์ที่มีต่อพฤติกรรมการรับประทานอาหารในเด็กวัยเรียน กลุ่มตัวอย่างคัดเลือกโดยใช้การสุ่มแบบกลุ่มจากเด็กนักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 4-6 โรงเรียนระดับประถมศึกษาแห่งหนึ่งในเขตอำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี จำนวน 90 รายเก็บรวบรวมข้อมูลเดือนมีนาคม พ.ศ. 2560 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามพื้นอารมณ์ของเด็กวัยเรียน และแบบสอบถามพฤติกรรม การรับประทานอาหารของเด็ก มีค่าความเชื่อมั่นอยู่ระหว่าง .74-.95 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ พรรณนา และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า พื้นอารมณ์แบบการแสดงปฏิกิริยาทางลบสามารถทำนายลักษณะการกินน้อยลงตามอารมณ์ได้ร้อยละ 6.0 (β = .25) การถอยหนีสามารถทำนายลักษณะความช้าในการกินได้ร้อยละ 11.1 (β = .33) การติดตามงานและกิจกรรมทางกาย สามารถร่วมกัน ทำนายลักษณะการตอบสนองต่ออาหารที่ไม่คุ้นเคยได้ร้อยละ 15.7 (β = -.44 และ β = -.37 ตามลำดับ) ผลการวิจัยนี้เสนอแนะว่า พยาบาลและบุคลากรที่เกี่ยวข้องควรประยุกต์พื้นอารมณ์ของเด็กเพื่อพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่เหมาะสมสำหรับเด็กวัยเรียน
dc.language.iso th
dc.publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลเด็ก
dc.subject เด็ก -- พฤติกรรม
dc.subject เด็กวัยเรียน
dc.title อิทธิพลของพื้นอารมณ์ที่มีต่อพฤติกรรมการรับประทานอาหารในเด็กวัยเรียน
dc.title.alternative Influencing of temperment on eting behviors in school-ge children
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative School-age children are the age of a heightened physical and intellectual development. They can take care of themselves for buying and decision of eating. The purpose of this predictive research was to determine influencing of temperament on eating behavior in school-age children. A cluster random sampling was used to recruit a sample of 90 children studying in Grade 4-6 of an elementary in Chon Buri province. Data collection was carried out in March 2017. Research instruments included a demographic questionnaire, the School-Age Temperament InventoryTeacher version and the children’s eating behavior questionnaire. Data were analyzed by using descriptive statistics and multiple regression analysis. Results showed that the temperament of negative reactivity accounted for 6.0% in the prediction of emotional under-eating (β = .25). Withdrawal temperament accounted for 11.1% in the prediction of slowness eating (β = .33). The temperament of task persistence and physical activity together accounted for 15.7% in the prediction of food fuzziness (β = -.44 and β = -.37, respectively). These findings suggested that nurses and related personnel could apply the child temperament to develop the intervention program to promote the eating behavior in school-age children.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การพยาบาลเด็ก
dc.degree.name พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account