DSpace Repository

แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสารของบริษัทตัวแทนผู้ส่งออกในจังหวัดชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.advisor ณภัคอร ปุณยภาภัสสร
dc.contributor.author พิทยาพร พรรณโรจน์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T02:44:04Z
dc.date.available 2023-05-12T02:44:04Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6340
dc.description งานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาคุณภาพการบริการของระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสาร ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพของระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสาร และเพื่อค้นหาแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสารของตัวแทน ผู้ส่งออกในจังหวัดชลบุรี กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยเชิงคุณภาพ คือบริษัทผู้ส่งออกในจังหวัดชลบุรี ที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนและจดทะเบียนกบกระทรวงพาณิชย์ จํานวน 3 ราย บริษัทตัวแทนผู้ส่งออกในจังหวัดชลบุรี ที่เป็นสมาชิกสมาคมตัวแทนออกของรับอนุญาตไทย จํานวน 5 ราย เจ้าหน้าที่กรมศุลกากรในเขตท่าเรือแหลมฉบังที่ดูแลระบบ E-paperless จํานวน 2 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยเชิงปริมาณคือ บริษัทตัวแทนผู้ส่งออกที่เป็นสมาชิก สมาคมตัวแทนออกของรับอนุญาตไทย ในจังหวัดชลบุรี จํานวน 400 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ความถี่, ร้อยละ, x , SD, t-test, F-test, LSD และ Multiple regression analysis ผลการวิจัยเชิงคุณภาพพบวาการศึกษาประสิทธิภาพของระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสารของตัวแทนผู้ส่งออกในจังหวัดชลบุรีเสนอแนวทางการแก้ปัญหาต่อความล่าช้าของการรับส่งข้อมูลระหว่างตัวแทนผู้ส่งออกกบกรมศุลกากรผ่านระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์ ระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์อํานวยความสะดวกต่อธุรกิจการส่งออก โดยลดปริมาณการใช้เอกสาร เชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการส่งออกได้ ผลการวิจัยเชิงปริมาณพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็ นตัวแทนดําเนินพิธีการศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสารให้กับประเภทอุตสาหกรรมอุปกรณ์ และส่วนประกอบรถยนต์ เป็ นเพศหญิงที่มีอายุระหว่าง 36-40 ปี มีการศึกษาระดับปริญญาตรี และมีอายุงานระหว่าง 4-8 ปี ผลการวิจัยพบว่า อายุ และอายุงานของผู้ใช้ระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์ต่างกันจะมีประสิทธิภาพของระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์ที่แตกต่างกัน และคุณภาพการบริการของระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสาร ส่งผลต่อประสิทธิภาพของระบบ ศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสารในระดับมาก
dc.language.iso th
dc.publisher วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject ศุลกากร
dc.subject ศุลกากร -- การทำงาน
dc.subject เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี)
dc.subject ระบบอิเล็กทรอนิกส์
dc.subject อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการธุรกิจโลก
dc.subject ศุลกากร -- โปรแกรมคอมพิวเตอร์
dc.title แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสารของบริษัทตัวแทนผู้ส่งออกในจังหวัดชลบุรี
dc.title.alternative A guideline to increse efficiency of pperless customs system of export brokers in chon buri province
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This research attempts to investigate service quality of paperless customs system contributing to efficiency of paperless customs system and to retreive a guideline to increase efficiency of paperless customs system of export brokers in Chon Buri Province. The target subjects of this qualitative study were three export companies in Chon Buri that have supported for investment and have registered with Ministry of Commerce, five export brokers in Chon Buri Province that were memebers in Thai Authorized Customs Brokers Association, two customs officers in Leam Chabung Port areas who took care of this E-paperless system. For qualitatie study, research instrument was the interviews with target subjects who were export brokers under the authority of Thai Authorized Customs Brokers Association in Chon Buri Province. 400 copies of questionnaires were distributed to member companies of Thai Authorized Customs Brokers Association. The statistics in this study included frequency, percentage, mean, SD, t-test, F-test, LSD, and Multiple Regression Analysis. The findings on the study of efficiency of E-paperless system of import brokers in Chon Buri Province had proposed a guideline for the solution of the dalay in document distribution between brokers and customs department via paperliss customs system. This system could be convenient to the business, reduce paper, and could link the information between related import institutes. The majority of respondents to the questionnaires were agent to perform through e-paperless system for auto part and components industry, were females, were between 36-40 years old, obtained bachelor degree, and gained work length for four to eight years. The service quality of paperless customs system comprised of quality, quantity, time, and expense contributing to efficiency of paperless customs system.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การจัดการธุรกิจโลก
dc.degree.name บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account