DSpace Repository

การปฏิบัติงานและการบริหารงานควบคุมภายในของเทศบาลในเขตพื้นที่ อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.advisor กาญจนา บุญยัง
dc.contributor.author พัชร์ธมน เมฆโหรา
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.date.accessioned 2023-05-12T02:42:20Z
dc.date.available 2023-05-12T02:42:20Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6298
dc.description งานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปฏิบัติงาน และการบริหารงานควบคุมภายในของเทศบาล ในเขตพื้นที่อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี และเพื่อเปรียบเทียบการปฏิบัติงาน และการบริหารงาน จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่งงาน หน่วยงานที่สังกัดสำนัก/กอง ประเภทเทศบาล และระยะเวลา ในการรับผิดชอบ/ กำกับดูแลงานควบคุมภายในประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ แบ่งเป็นกลุ่มผู้ปฏิบัติงานของเทศบาลในเขตพื้นที่อำเภอเมืองชลบุรี จำนวน 76 คน และกลุ่มผู้บริหารของเทศบาลในเขตพื้นที่อำเภอเมือง ชลบุรี จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของประชากร 2 กลุ่มที่เป็นอิสระ ต่อกัน (Independent sample t-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA), Brown-forsythe, Welch ผลการวิจัย พบว่า ผู้ปฏิบัติงานของเทศบาลในเขตพื้นที่อำเภอเมืองชลบุรีมีการปฏิบัติงานควบคุม ภายในอยู่ในระดับดีมาก มีการปฏิบัติงานด้านการติดตามประเมินผล มากที่สุด รองลงมาคือ การปฏิบัติงาน ด้านกิจกรรมการควบคุม และการปฏิบัติงาน ด้านสภาพแวดล้อมการควบคุม น้อยที่สุด ตามลำดับ ผลการทดสอบ สมมติฐาน พบว่าผู้ปฏิบัติงานที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่งงาน หน่วยงานที่สังกัดสำนัก/กอง ประเภท เทศบาลและระยะเวลาในการรับผิดชอบงานควบคุมภายในต่างกัน มีการปฏิบัติงานควบคุมภายในไม่แตกต่างกัน สำหรับการบริหารควบคุมภายในของผู้บริหารเทศบาล พบว่า การบริหารงานควบคุมภายในอยู่ในระดับดีมาก โดยมีการดำเนินงานด้านการวางแผนงาน มากที่สุด รองลงมาคือ ด้านการจัดองค์การ และการดำเนินงาน ด้านงบประมาณ น้อยที่สุด ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ผู้บริหารเทศบาลที่มีอายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่งงาน หน่วยงานที่สังกัดสำนัก/กอง และระยะเวลาในการกำกับดูแลงานควบคุมภายในที่ต่างกัน มีการบริหารงานควบคุมภายในไม่แตกต่างกัน ขณะที่ผู้บริหารที่มีเพศ และสังกัดประเภทของเทศบาลต่างกัน จะมีการบริหารงานควบคุมภายในแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05
dc.language.iso th
dc.publisher วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject เทศบาล -- การบริหาร -- ไทย -- ชลบุรี
dc.subject เทศบาล -- การจัดการ -- ไทย -- ชลบุรี
dc.subject การควบคุมภายใน
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารทั่วไป
dc.subject การตรวจสอบภายใน
dc.title การปฏิบัติงานและการบริหารงานควบคุมภายในของเทศบาลในเขตพื้นที่ อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี
dc.title.alternative The performnce nd dministrtion of internl control of municiplities in the re of mphoe mueng, chon buri province
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This purpose of this study was to examine a level of performance and administration of internal control of municipalities in the area of Amphoe Mueang, Chon Buri Province. Also, this study intended to compare the level of performance and administration of internal control of municipalities as classified by gender, age, educational level, work position, type of workplace (units/ division), type of municipality, and responsible length for monitoring the internal control units/ divisions. The population of this study was divided into two groups. One group comprised 76 practitioners working for municipalities in the area of Amphoe Mueang, Chon Buri Province, the other group was consisted of 100 municipal administrators in the area of Amphoe Mueang, Chon Buri Province. The instrument used to collect the data was a questionnaire. The statistical tests used to analyze the collected data included frequency, percentage, means, standard deviation, independent t-test, one-way ANOVA, and Brown-Forsythe, Welch. The results of this study revealed that the level of performance for internal control among municipal practitioners was at a very good level. They monitored and evaluated at the highest frequencies, followed by conducting the controlling-related activities, and environment control, respectively. In addition, based on the test of research hypotheses, it was shown that there were no statistically significant differences in the level of performance of internal control among the practitioners who had different gender, age, educational level, work position, type of workplace (units/ division), type of municipality, and responsible length for monitoring the internal control units/ divisions. Regarding the administration of internal control of municipal executives, it was shown they administered the internal control work at a very good level. The aspect of administration in relation to planning was conducted the most, followed by the work in relation to organization management and budget, respectively. Finally, based on the test of research hypotheses, it was shown that there were no statistically significant differences in the level of administration of internal control among the administrators who had different gender, age, educational level, work position, type of workplace (units/ division), type of municipality, and responsible length for monitoring the internal control units/divisions at a significant level of .05.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การบริหารทั่วไป
dc.degree.name รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account