DSpace Repository

รูปแบบความร่วมมือกลุ่มบุคคลเพื่อความต่อเนื่องทางธุรกิจของโซ่อุปทานข้าวหอมมะลิจังหวัดร้อยเอ็ดในภาวะที่เกิดภัยแล้ง

Show simple item record

dc.contributor.advisor บรรพต วิรุณราช
dc.contributor.author ณัฎฐวัฒน์ วงศ์ศิริคุณากร
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T02:37:23Z
dc.date.available 2023-05-12T02:37:23Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6217
dc.description ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหารูปแบบความร่วมมือของกลุ่มบุคคลในโซ่อุปทาน ข้าวหอมมะลิจังหวัดร้อยเอ็ดในภาวะที่เกิดภัยแล้งที่จะทำให้เกิดความต่อเนื่องทางธุรกิจของโซ่อุปทานข้าวประชากรประกอบด้วยกลุ่มผู้ผลิตข้าวเปลือกกลุ่มผู้จัดหาข้าวเปลือกกลุ่มผู้ผลิตข้าวสารและกลุ่มผู้จำหน่ายข้าวสารผู้วิจัยใช้เทคนิคการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) รูปแบบการสนทนากลุ่ม (Focus group) ทุกกลุ่มในโซ่อุปทานข้าวโดยมีผลการวิจัยดังนี้ 1. แนวทางการดำเนินการเพื่อความต่อเนื่องทางธุรกิจของโซ่อุปทานข้าวหอมมะลิ จังหวัดร้อยเอ็ดในภาวะเกิดภัยแล้ง ได้แก่ (1) การบริหารจัดการแหล่งน้ำต้นทุนเป็นบ่อบาดาล 1 บ่อ/ 5ไร่ หรือขุดสระ 1 บ่อ/10 ไร่ โดยกลุ่มผู้ผลิตข้าวเปลือก (2) การสนับสนุนปัจจัยการผลิตให้ชาวนา ในฤดูการผลิตต่อไปหลังเกิดภัยโดยกลุ่มผู้จัดหาข้าวเปลือก (3) การทบทวนแผนการตลาด การหาตลาดจำหน่ายข้าวสารทั้งภายในประเทศและต่างประเทศโดยกลุ่มผู้ผลิตข้าวสารและกลุ่มผู้จำหน่ายข้าวสาร 2. แนวทางความร่วมมือภายในโซ่อุปทานข้าว ได้แก่ (1) การวางแผนการผลิต แผนการรับซื้อแผนการจำหน่ายให้สอดคล้องกัน (2) การบริหารจัดการเมล็ดพันธุ์ข้าวให้ได้มาตรฐาน มีการกันเมล็ดพันธ์ข้าวไว้กู้ยืมหลังเกิดภัย (3) การแปรรูปข้าวเปลือกที่ไม่ได้คุณภาพหลังการเกิดภัยให้เป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เพื่อเพิ่มมูลค่า 3. แนวทางความร่วมมือนอกโซ่อุปทานข้าว ได้แก่ (1) การจัดหาแหล่งน้ำต้นทุนของส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง (2) การส่งเสริมและสนับสนุนปัจจัยการผลิตและพัฒนาองค์ความรู้แก่ชาวนาให้สามารถรับมือกับภัยแล้งได้ (3) การควบคุมเมล็ดพันธุ์ข้าวและการบริหารจัดการเมล็ดพันธุ์ข้าวหลังเกิดภัย (4) การพัฒนาองค์ความรู้ผู้ประกอบการเพื่อขยายตลาดภายในประเทศ และต่างประเทศ
dc.language.iso th
dc.publisher วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพัฒนาองค์การและการจัดการสมถรรนะของมนุษย์
dc.subject ธุรกิจ -- การบริหาร
dc.subject ความร่วมมือ -- เจ้าของกิจการ
dc.title รูปแบบความร่วมมือกลุ่มบุคคลเพื่อความต่อเนื่องทางธุรกิจของโซ่อุปทานข้าวหอมมะลิจังหวัดร้อยเอ็ดในภาวะที่เกิดภัยแล้ง
dc.title.alternative bIndividul group coordintion ptterns for business continuity in thi hom mli rice supply chin in roi et province during drought period
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The objective of this research was to investigate the patterns of coordination of individual group in the supply chain of Thai Hom Mali rice in Roi-Et province during a drought periods in order to create the business continuity of the supply chain of rice. The subject consisted of paddy producers, paddy supply group, rice mills and the rice supplier. Researchers used qualitative research and focus groups with all groups in the rice supply chain. The results were as follows. 1. Guidelines for Business Continuity of the Hom Mali Rice Supply Chain in Roi-Et in Drought Period were as follows: (1) water resources were managed into one 5-Rai groundwater well/ or 5 Rai Excavation / 10 Rai groundwater well by paddy producers (2) inputs were provided to farmers in the next production season after the disaster by the paddy suppliers and (3) the marketing plan was reviewed by the rice producers and rice suppliers and they had to find local and international rice markets. 2. Collaborative approaches within rice supply chains include (1) production planning, purchase plan and distribution plan should be consistent. (2) Rice seed management should be standard and there should be rice-seed loan after the disaster. (3) Unqualified paddy should be processed into various products to add value. 3. Guidelines for outside coordination of the supply chain of rice include: (1) water resources should be supplied by the relevant government agencies, (2) inputs for production shouldbe promoted and supported and there should be the development of knowledge for farmers to cope with drought. (3) There should be control of rice seed and management of rice seed after disaster; and (4) Entrepreneurial knowledge should be developed to expand domestic and foreign markets.
dc.degree.level ปริญญาเอก
dc.degree.discipline การพัฒนาองค์การและการจัดการสมถรรนะของมนุษย์
dc.degree.name ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account