DSpace Repository

การลดต้นทุนในกระบวนการผลิตก้านสูบโดยวิศวกรรมคุณค่า

Show simple item record

dc.contributor.advisor กฤษดา ประสพชัยชนะ
dc.contributor.author ศุภมิตร ศักดิ์เสรีกุล
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T02:34:34Z
dc.date.available 2023-05-12T02:34:34Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6196
dc.description งานนิพนธ์ (วศ.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract งานนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดต้นทุนในกระบวนการผลิตก้านสูบรถยนต์โดยใช้เทคนิควิศวกรรมคุณค่า เมื่อวิเคราะห์คุณค่าแต่ละหน้าที่ของกระบวนการผลิตก้านสูบรถยนต์ พบว่า หน้าที่ควรปรับปรุงเพื่อลดต้นทุน คือเจาะรูสลักเกลียว ทำเกลียวใน เจาะรูน้ำมัน เซาะร่องลิ่ม คว้านรูบูช และเจียระไนรูใหญ่ซึ่งมีคุณค่า 0.65, 0.62, 0.89, 0.86, 0.79และ0.86 ตามลำดับ เนื่องจากหน้าที่หลักเหล่านี้มีคุณค่าน้อยกว่าหนึ่ง ดังนั้น กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่หลักดังกล่าวถูกปรับปรุงโดยการเปลี่ยนวัสดุและสารเคลือบของเครื่องมือตัด และการควบรวมเครื่องมือตัด หลังจากการนำเครื่องมือตัดใหม่มาใช้ในกระบวนการผลิตพบว่า อายุเครื่องมือตัดเพิ่มมากขึ้นและลดความถี่การเปลี่ยน เครื่องมือตัดลง ส่งผลให้ต้นทุนเครื่องมือตัดทั้งหมดสามารถลดต้นทุนได้ 9.86 บาทต่อชิ้นหรือลดลง 48.86% และกำลังการผลิตเพิ่มขึ้น 21.86%
dc.language.iso th
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
dc.subject การควบคุมต้นทุนการผลิต
dc.subject อุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์ -- การควบคุมต้นทุนการผลิต
dc.title การลดต้นทุนในกระบวนการผลิตก้านสูบโดยวิศวกรรมคุณค่า
dc.title.alternative Cost reduction in mnufcturing process of connecting rod by vlue engineering technique
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The objective of this research is to reduce the cost in manufacturing process of connecting rod using value engineering technique. The primary function of manufacturing processesnamely, Drill bolt hole, Make internal thread, Drill oil hole, Groove keyway, Bore bush hole and Hone big hole had the values of0.65, 0.62, 0.89, 0.86, 0.79and 0.86 respectively. Therefore, the cost of manufacturing processes related to these primary functions had been reduced by changing the substrate and coating materials of cutting tool and applying the tool combination. After the improved designs were implemented, it was found that the tool life has increased and the frequency of tool changing has decreased. Therefore, the cost of cutting tool was decreased by 9.86 THB per each or 48.86% and productivity was increased by 21.86%.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline วิศวกรรมอุตสาหการ
dc.degree.name วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account