dc.contributor.advisor |
กาญจนา หริ่มเพ็ง |
|
dc.contributor.advisor |
กฤษนัยน์ เจริญจิตร |
|
dc.contributor.author |
พิสุทธิ์ กวีวังโส |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T02:34:29Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T02:34:29Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6176 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)-- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 |
|
dc.description.abstract |
หญ้าทะเลเป็นแหล่งทรัพยากรชายฝั่งที่สำคัญ ซึ่งเป็นแหล่งอาหาร และที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำปัจจุบันหญ้าทะเลมีปริมาณลดลง เนื่องจาก ถูกทำลายจากมนุษย์และภัยธรรมชาติในการศึกษาครั้งนี้ได้ใช้ภาพถ่ายทางอากาศจากหุ่นยนต์อากาศยานขนาดเล็ก (Small Unmanned Aerial Vehicle : sUAV) เพื่อจัดทำแผนที่ภาพถ่ายรายละเอียดสูงของชนิดพันธ์หญ้าทะเลและความ หนาแน่นของหญ้าทะเล โดยภาพจากหุ่นยนต์อากาศยานขนาดเล็กจะเป็นภาพสีจริง (RGB camera) และภาพอินฟาเรดใกล้ (Near Infrared) เพื่อทดสอบการจำแนกระหว่างการจำแนกข้อมูลเชิงจุดภาพ (Pixel Based Classification) ด้วยขั้นตอนการจำแนกความน่าจะเป็นสูงสุด (Maximum Likelihood- Classification) กับวิธีการจำแนกข้อมูลเชิงวัตถุ (Object-based Classification) ร่วมกับแบบจำลองฐานกฎ (Rule Based Model) เพื่อเปรียบเทียบความถูกต้องในการจำแนกชนิดพันธ์หญ้า ทะเล ผลการศึกษาในภาคสนามชนิดพันธ์ของหญ้าทะเลที่พบได้แก่ หญ้าคาทะเล (Enhalus acoroides) หญ้าใบมะกูด (Halophila ovalis) หญ้าชะเงาเต่า (Thalassia hemprichii) เป็นต้น ผลวิธีการจำแนกแบบควบคุมโดยผู้เชี่ยวชาญมีค่าความถูกต้องโดยรวม (Overall Accuracy) สูงกว่าเทคนิคการจำแนกเชิงวัตถุ โดยวิธีการจำแนกแบบควบคุมโดยผ้เชี่ยวชาญมีค่าความถูกต้องโดยรวม 88% และค่าสัมประสิทธิ์แคปปา (Kappa Coefficient) อยู่ที่ 0.84 ส่วนวิธีการจำแนกเชิงวัตถุความถูกต้องโดยรวมอยู่ที่ 80% และค่าสัมประสิทธิ์แคปปาเท่ากับ 0.71 จึงนำวิธีการจำแนกแบบควบคุม โดยผู้เชี่ยวชาญมาทำแผนที่ การจำแนกร้อยละความหนาแน่นของหญ้าทะเลโดยความถูกต้องโดยรวมอยู่ที่ 77% และค่าสัมประสิทธิ์แคปปาเท่ากับ 0.69 สำหรับการศึกษาในอนาคตควรใช้กล้องถ่ายภาพหลายช่วงคลื่น (Multispectral Camera) เพื่อช่วงคลื่นที่เหมาะในการจำแนกมากขึ้น |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม |
|
dc.subject |
หญ้าทะเล -- หาดเจ้าไหม (ตรัง) |
|
dc.subject |
หญ้าทะเล -- การจำแนก |
|
dc.title |
การจำแนกขนาด ร้อยละการปกคลุม และความหนาแน่นของหญ้าทะเล โดยประยุกต์ภาพถ่ายรายละเอียดสูงจากหุ่นยนต์อากาศยานขนาดเล็ก บริเวณอุทยานแห่งชาติ หาดเจ้าไหม จังหวัดตรัง |
|
dc.title.alternative |
Size , percentge of coverge nd distribution of segrss using smll unmnned eril system in hd cho mi ntionl prk , trng province |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
Seagrass ecosystem is importantly known to the marine resources, It also provides a habitat and food of aquatic life. Currently, the seagrass area has decreasing through Human and Natural factors. The ground data and aerial images obtained by the small Unmanned Aerial System (sUAS) were used in this study. The RGB-NIR cameras and the grid flight planning were selected for image capturing. For the seagrass species identification, the Maximum likelihood Classification (MLC) was applied for the pixel based classification and the rule based was applied for the object based classification then compared both methods by the accuracy assessment. The seagrass in this area is shown to species of Enhalus acoroides, Halophila ovalis and Thalassia hemprichii. The highest accuracy is shown in the MLC method as the accuracy of around 88% (Kappa coefficient as 0.8) while the rule based classification is shown to the accuracy around 80% (Kappa coefficient 0.7) these data can be appropriated for the seagrass mapping methodology. Further study will apply the multispectral camera on the sUAS for improve the accuracy of seagrass mapping. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม |
|
dc.degree.name |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|