DSpace Repository

การวิเคราะห์หาปริมาณสารประกอบฟีนอลิคในตัวอย่างน้ำผลไม้ด้วยวิธีสเปกโทรโฟโตเมทรี

Show simple item record

dc.contributor.advisor จอมใจ สุกใส
dc.contributor.author พงษ์ศักดิ์ ชายกวด
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T02:34:29Z
dc.date.available 2023-05-12T02:34:29Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6175
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)-- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract ปริมาณสารประกอบฟีนอลิคในตัวอย่างน้ำผลไม้สำเร็จรูปและน้ำผลไม้คั้นสดได้ถูกศึกษา 2 วิธีคือ Prussian blue method และ Vanillin assay method จากการศึกษาพบว่า การตรวจวัดด้วย Vanillin assay method นั้น ไม่เหมาะสมที่นำมาวิเคราะห์ในน้ำผลไม้เพราะว่ามีน้ำเป็นองค์ประกอบหลัก ส่งผลต่อปฏิกิริยาระหว่างสารมาตรฐานแคทิชินกับสารวานิลลิน จึงได้เลือกวิธี Prussian blue method ซึ่งให้ผลที่น่าเชื่อถือกว่า โดยการทำปฏิกิริยากับสารละลายโพแทสเซียมเฟอริกไซยาไนด์และสารละลายไอร์ออน (III) คลอไรด์ในสารละลายกรดไฮโดรคลอริก หลังจากน้ันนำสารละลายที่ได้ไปวัดค่าการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 700 นาโนเมตร จากการวิเคราะห์น้ำผลไม้สำเร็จรูปและน้ำผลไม้คั้นสดพบว่ามีปริมาณสารประกอบ ฟีนอลิคจะอยู่ในช่วง 2.66 – 29.75 มิลลิกรัมต่อลิตรจากการทดสอบความแม่นและความเที่ยงของประสิทธิภาพของการวิเคราะห์พบว่า มีเปอร์เซ็นต์การได้กลับคืนอยู่ในช่วง 90.00-101.33 และมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานสัมพัทธ์ไม่เกิน 1.99
dc.language.iso th
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเคมีศึกษา
dc.subject สารประกอบฟีนอล
dc.subject น้ำผลไม้ -- การปนเปื้อน
dc.title การวิเคราะห์หาปริมาณสารประกอบฟีนอลิคในตัวอย่างน้ำผลไม้ด้วยวิธีสเปกโทรโฟโตเมทรี
dc.title.alternative Determintion of phenolic compoundsin fruit juice smples by spectrophotomtry
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The propose of this research is to study the determination of phenolic compounds in beverages fruit juice and fruit juice using UV-visible spectrophotometry by 2 methods are Prussian blue method and Vanillin Assay method. However, the results show that Vanillin Assay method was not suitable for analysis in fruit juice because it contains water that affects reaction between catechin standard and vanillin. Therefore the Prussian blue method was chosen to give a more reliable result by interaction of phenolic compounds in sample with potassium ferricyanide solution and iron (III ) chloride in hydrochloric acid solution. The solutions were mixed well and were measured at 700 nm. It was found that fruit juice contained phenolic compounds in the range of 2.66 - 29.75 mg/L. By testing accuracy and precision, the percentage recovery ranges of condensed tannin were 90.00 - 101.33 and range of the relative standard derivation were less than 1.99.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline เคมีศึกษา
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account