dc.contributor.advisor |
กาญจนา หริ่มเพ็ง |
|
dc.contributor.advisor |
กฤษนัยน์ เจริญจิตร |
|
dc.contributor.author |
วรพงศ์ กอนสิน |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T02:34:29Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T02:34:29Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6174 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)-- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 |
|
dc.description.abstract |
ประเทศไทยมีระบบนิเวศที่เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำที่สำคัญ 3 รูปแบบ ได้แก่ ระบบนิเวศป่าชายเลน ระบบนิเวศปะการัง และ ระบบนิเวศหญ้าทะเล โดยเฉพาะแหล่งหญ้าทะเลเป็นระบบนิเวศชายฝั่งที่มีความสมบูรณ์เป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงช่วยป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งได้เป็นอย่างดีซึ่งในพื้นที่อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม จังหวัดตรังนั้นถือได้ว่าเป็นพื้นที่ที่มีจำนวนหญ้าทะเลมากที่สุดในประเทศไทย แต่ในปัจจุบันสถานการณ์ทรัพยากรชายฝั่งทะเลของไทยกำลังอยู่ในสภาวะวิกฤต ทำให้เกิดปัญหาการกัดเซาะตามแนวชายฝั่ง มีการศึกษาเพื่อที่จะอนุรักษ์จำนวนของหญ้าทะเลให้คงไว้ในการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมหรือการสำรวจระยะไกลในการประเมินพื้นที่ของหญ้าทะเลใน บริเวณอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม เพื่อที่จะวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของพื้นที่หญ้าทะเลหลังจากได้รับผลกระทบทางธรรมชาติคือ คลื่นสึนามิ ที่เป็นภัยธรรมชาติที่ร้ายแรงที่สุดที่เคยเกิดขึ้นในประเทศไทย ซึ่งเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นในปีพ.ศ. 2547 ในการศึกษานี้ใช้ภาพถ่ายจากดาวเทียม Landsat 5 TM และ Landsat 8 OLI ที่บันทึกครอบคลุมพื้นที่ศึกษาในปีพ.ศ. 2547 ถึง ปี พ.ศ. 2558 (ยกเว้น ภาพในช่วงปี พ.ศ. 2555 เนื่องจากไม่มีการบันทึกภาพ) ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมจะถูกใช้ในการจำแนกข้อมูลหญ้าทะเล และส่วนที่ไม่ใช่หญ้าทะเลโดยจะเปรียบเทียบการจำแนกของ 2 เทคนิค คือ เทคนิคการจำแนกข้อมูลแบบกำกับดูแล (Supervised Classification) และเทคนิคการแบ่งส่วนของภาพ (Object Based Image Analysis) จากผลการศึกษาสามารถสรุปได้ว่า คลื่นสึนามิที่เกิดขึ้นในปี 2547 มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่หญ้าทะเลเมื่ออ้างอิงจากผลการวิเคราะห์แล้ว แสดงให้เห็นว่าเกิดผลกระทบต่อประชากรหญ้าทะเล ทำให้จำนวนประชากรหญ้าทะเลลดลง ซึ่งการประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมสามารถจำแนกหญ้าทะเลได้อย่างมีประสิทธิภาพ และในอนาคตสามารถใช้ข้อมูลดาวเทียมที่มีความละเอียดสูงขึ้น เพื่อเพิ่มความแม่นยำในการจำแนกให้ถูกต้องมากยิ่งขึ้น |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม |
|
dc.subject |
หญ้าทะเล -- หาดเจ้าไหม (ตรัง) |
|
dc.title |
การประยุกต์ข้อมูลภูมิสารสนเทศ เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงพื้นที่หญ้าทะเล หลังเหตุการณ์สึนามิ ระหว่างปี พ.ศ.2547-พ.ศ.2558 บริเวณอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม จังหวัดตรัง |
|
dc.title.alternative |
Appliction of geoinformtics for segrss chnge evlution fter tsunmi 2004-2015 in hd cho mi ntionl prk, trng province |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
Thailand has 3 kinds of important aquatic ecosystems including mangrove ecosystem, coral ecosystem and seagrass ecosystem. The seagrass area is plentifully coastal ecosystem with high biodiversity of living creatures as well as the animals economic value area and prevention of coastal and soil erosion. Had Chao Mai National Park in Trang Province is regarded as an area with lots of seagrass in Thailand. Nowadays, Thailand’s coastal resources are facing a crisis of natural disasters and human actions that cause of coastal erosion and coastal damage, A study is conducted for seagrass conservation. The study aims to use satellites or remote sensing imagery, in the assessment of seagrass in the Hat Chao Mai National Park. In order to analyze the dynamics of seagrass areas after natural disaster Tsunami ever to occur in Thailand. This event, which took place in the 2004. In this study, Using Landsat 5 TM and Landsat 8 OLI satellite imagery, covering in 2004 to 2015 (except for a picture during 2012 because there is no record). Satellite data will be used to classify information, in order to assist in the identification of seagrass and non seagrass. The result of this study show that Tsunami or natural disaster that occurred in 2004 affect to the area of seagrass. Based on the analysis, it impact on populations of seagrass were shown. The results of using Landsat 5 TM and Landsat 8 OLI satellite imagery has potential to identify seagrass. In the future, higher resolution of satellite imagery can be used for increased precision of identification accuracy. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม |
|
dc.degree.name |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|